Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/66081
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorศิริพร จันทร์ฉาย-
dc.contributor.advisorอรรถฤทธิ์ ศฤงคไพบูลย์-
dc.contributor.authorปวีณา อินตารักษา, 2522--
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะแพทยศาสตร์-
dc.date.accessioned2020-05-30T18:09:32Z-
dc.date.available2020-05-30T18:09:32Z-
dc.date.issued2547-
dc.identifier.issn9741759576-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/66081-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2547en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงทดลอง มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาประสิทธิผลของการออกกำลังกายในน้ำต่อความแข็งแรงของกล้ามเนื้อหลังและกล้ามเนื้อหน้าท้อง โดยเปรียบเทียบระหว่างกลุ่มที่ได้รับการฝึกออกกำลังกายในน้ำกับกลุ่มที่ได้รับการแกออกกำลังกายด้วยวิธีที่ใช้ในปัจจุบันทำการศึกษาในผู้ที่มีภาวะปวดหลังส่วนล่างแบบเล็กน้อยถึงปานกลางที่ไม่มีอาการทางระบบประสาท จานวน 49 คน แบ่งเป็นกลุ่มทดลอง ที่ได้รับการฝึกออกกำลังกายในน้ำ จำนวน 24 คน และกลุ่มควบคุมที่ได้รับการฝึกออกกำลังกายด้วยวิธีที่ใช้ในปัจจุบัน จำนวน 25 คน ทำการฝึกเป็นเวลา 6 สัปดาห์ โดยทั้งสองกลุ่มได้รับการวัดกำลังกล้ามเนื้อหลังและกล้ามเนื้อหน้าท้องแบบ Isometric ด้วยเครื่องออกกำลังกายแบบ Isokinetic รุ่น Cybex 6000 ประเมินอาการปวดของหลัง โดยใช้เครื่องมือวัดระดับความเจ็บปวด (VAS) และประเมิความสามารถในการทำกิจวัตรประจำวันโดยใช้ Modified Oswestry Low Back Pain Disability ก่อนการฝึกและสิ้นสุดการฝึกที่ 6 สัปดาห์ ผลการวิจัย พบว่า ความแข็งแรงของกล้ามเนื้อหลังและกล้ามเนื้อหน้าท้องเพิ่มขึ้น ความ เจ็บปวดของหลังลดลง และความสามารถในการทำกิจวัตรประจำวันเพิ่มขึ้นทั้งสองกลุ่ม แต่เมื่อเปรียบเทียบระหว่างกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุมไม่พบความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติจากผลการวิจัยสรุปว่าการออกกำลังกายในน้ำและการออกกำลังกายด้วยวิธีที่ใช้ในปัจจุบันสามารถเพิ่มความแข็งแรงของกล้ามเนื้อหลัง กล้ามเนื้อหน้าท้อง ลดความเจ็บปวด และเพิ่มความสามารถในการทำกิจวัตรประจำวันของผู้ที่มีภาวะปวดหลังส่วนล่างได้ไม่แตกต่างกัน แสดงให้เห็นว่าการออกกำลังกายในน้ำเป็นการออกกำลังกายอีกทางเลือกหนึ่งที่สามารถนำไปใช้ในการรักษาฟื้นฟูในผู้ที่มีภาวะปวดหลังส่วนล่างได้-
dc.description.abstractalternativeThis experimental study evaluated the effectiveness of aquatic exercise on back and abdominal muscle strength เท low back pain. The study group was assigned to aquatic exercise program and the control group (conventional treatment at home). There were 49 people enrolled for this study with mild to moderate low back pain and were divided into two groups. The experimental group (n= 24) performed aquatic exercise program while the control group (n= 25) performed conventional treatment program for 6 weeks training period. At the beginning and the end of program at 6th week, all people were involved in 3 measurements: tested back and abdominal muscle strength in isometric test by Cybex 6000; measured back pain by visual analog scales (VAS); assessed functional ability by modified Oswestry low back pain disability scores. The results of this study showed the improvement of back and abdominal muscle strength, back pain and functional ability after treatment เท both groups. However there was no statistically significant difference (p>0.05) among two groups. In Conclusion, the aquatic exercise as well as conventional treatment can increase back and abdominal muscle strength, decrease pain and improve functional ability in low back pain. Thus, the results suggest the aquatic exercise is another alternative treatment for low back pain.-
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectปวดหลัง -- การรักษาด้วยการออกกำลังกายen_US
dc.subjectการออกกำลังกายในน้ำen_US
dc.subjectกระดูกสันหลัง -- กายวิภาคen_US
dc.subjectBackache -- Exercise therapyen_US
dc.subjectAquatic exerciseen_US
dc.subjectSpine -- Anatomyen_US
dc.titleประสิทธิผลของการฝึกออกกำลังกายในน้ำต่อความแข็งแรงของกล้ามเนื้อหลังและกล้ามเนื้อหน้าท้อง ในผู้ที่มีภาวะปวดหลังส่วนล่างen_US
dc.title.alternativeEffectiveness of aquatic exercise on back muscle and abdominal muscle strength in low back painen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineเวชศาสตร์การกีฬาen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorSiriporn.Ja@Chula.ac.th-
dc.email.advisorไม่มีข้อมูล-
Appears in Collections:Med - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Pavena_in_front_p.pdfหน้าปก บทคัดย่อ และสารบัญ935.78 kBAdobe PDFView/Open
Pavena_in_ch1_p.pdfบทที่ 1870.29 kBAdobe PDFView/Open
Pavena_in_ch2_p.pdfบทที่ 21.49 MBAdobe PDFView/Open
Pavena_in_ch3_p.pdfบทที่ 3889.26 kBAdobe PDFView/Open
Pavena_in_ch4_p.pdfบทที่ 4671.93 kBAdobe PDFView/Open
Pavena_in_ch5_p.pdfบทที่ 5810.12 kBAdobe PDFView/Open
Pavena_in_back_p.pdfรายการอ้างอิง และภาคผนวก1.94 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.