Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/66184
Title: | Studien zum komplex des "Asiatischen" in Thomas Manns "Der Tod in Venedig" und "Der Zauberberg" |
Other Titles: | ภาพของ "เอเชีย" ในเรื่อง "ความตายที่เมืองเวนิซ" และ "ภูเขามนต์ขลัง " ของโธมัส มันน์ |
Authors: | Aratee Kaewsumrit |
Advisors: | Hulshorster, Christian Thanomnuan O'Charoen |
Other author: | Chulalongkorn University. Faculty of Arts |
Subjects: | Mann, Thomas, 1875-1955. Der Tod in Venedig Mann, Thomas, 1875-1955. Der Zauberberg German literature -- 20th century -- History and criticism German fiction -- 20th century มานน์, โธมัส, ค.ศ. 1875-1955. ความตายที่เมืองเวนิซ มานน์, โธมัส, ค.ศ. 1875-1955. ภูเขามนต์ขลัง วรรณกรรมเยอรมัน -- คริสต์ศตวรรษที่ 20 -- ประวัติและวิจารณ์ นวนิยายเยอรมัน -- คริสต์ศตวรรษที่ 20 เอเชียในวรรณกรรม |
Issue Date: | 2000 |
Publisher: | Chulalongkorn University |
Abstract: | Die vorliegende Arbeit zielt erstens auf die Analyse des Asienkomplexes in Thomas Manns “Der Tod in Venedig” und “Der Zauberberg”. Die Arbeit untersucht ebenfalls, wie das Asienmotiv in den beiden Werken sich entwickelt. Nach meiner Forschung hat “Asien” in beiden Werken eine spezifische Bedeutung. Thomas Mann begann seine Arbeit an den Werken zu derselben Zeit, als er sich in Mythos und Psychologie vertiefte. Inzwischen wurde Thomas Mann zugleich von Friedrich Nietzsche, Arthur Schopenhauer und Sigmund Freud beeinflußt. Aus diesen Quellen entwickelte er seine eigene Gestaltung des Asienmotivs, das eine philosophisch-psychologische Bedeutung hat und sich mit der griechischen Mythologie beschäftigte. Später wurde die Produktionsdauer am “Zauberberg” bis auf elf Jahre ausgedehnt. Die sozial-politischen Wandlungen dieser Zeit vor allem nach dem ersten Weltkrieg weckten das Interesse an zeitgenössischer Politik bei Thomas Mann. Das Asienmotiv im “Zauberberg” wird in diesem Zusammenhang auch in politischer Hinsicht präsentiert. Beeinflußt von Nietzsches “Selbstüberwindung” stellt der Roman im Gegensatz zum “Tod in Venedig” weiterhin einen Versuch dar, die bedrohliche Macht des "Asiatischen”, die sich hier als Rausch, Dekadenz, Tod und Daseinsgier zeigt, zu überwinden. |
Other Abstract: | วิทยานิพนธ์ฉบับนี้มีวัตถุประสงค์หลัก 2 ประการ คือ ประการแรกเพื่อศึกษาวิเคราะห์ภาพของ “เอเชีย” ในเรื่อง “ความตายที่เมืองเวนิช” (Der Tod in Venedig) และ “ภูเขามนต์ขลัง” (Der Zauberberg) ของโธมัส มันน์และประการที่สองเพื่อศึกษาวิวัฒนาการทางความคิดเกี่ยวกับ “เอเชีย” ของโธมัส มันน์ และวิเคราะห์หาสาเหตุและปัจจัยที่มีผลทำให้ทัศนคติเกี่ยวกับ “เอเชีย” ของโธมัส มันน์ เปลี่ยนแปลงไปใน ช่วงระยะเวลาที่เขียนงานวรรณกรรมทั้งสองเรื่อง จากการวิจัยพบว่า “เอเชีย” ในงานวรรณกรรมทั้งสองเรื่องมีความหมายพิเศษเฉพาะตัว โธมัส มันน์เริ่มเขียนวรรณกรรมทั้งสองเรื่องในเวลาไล่เลี่ยกัน ซึ่งเป็นช่วงเวลาที่โธมัส มันน์มีความสนใจในตำนาน เทพปกรณัมกรีกอย่างลึกซึ้งและยังได้รับอิทธิพลจากนักปรัชญาเมธีชาวเยอรมันที่สำคัญได้แก่ ฟรีดริช นีทซ์เชีและ อาชัวร์ โซปนเฮาเออร์ รวมทั้งนักจิตวิทยาอย่าง ซิกมุนด์ ฟรอยต์ ภาพของ “เอเชีย” ที่ปรากฏในงานวรรณกรรม ดังกล่าวจึงมีความหมายเชิงปรัชญา จิตวิทยา และเกี่ยวข้องกับเทพปกรณัมกรีก เนื่องจากโธมัส มันน์ได้ขยายระยะเวลาการเขียนนวนิยายขนาดยาวเรื่อง “ภูเขามนต์ขลัง” ออก ไปอีกรวมทั้งสิ้นเป็นเวลา 11 ปี การเปลี่ยนแปลงทั้งทางการเมืองและสังคมหลังสงครามโลกครั้งที่หนึ่งจึงส่งผลกระทบทำให้โธมัส มันน์เปลี่ยนความคิดและแนวการเขียนวรรณกรรมจากนักเขียนที่ไม่สนใจการเมืองมาเป็น นักเขียนที่สนใจการเปลี่ยนแปลงทางการเมืองและสังคมรอบตัว การเปลี่ยนแปลงท่าที่ดังกล่าวส่งผลให้ภาพของ “เอเชีย” ในเรื่อง “ภูเขามนต์ขลัง” ปรากฏในแง่มุมทางการเมืองเพิ่มขึ้นนอกเหนือไปจากที่ปรากฏในแง่มุมทาง ปรัชญา จิตวิทยาและเทพปกรณัมกรีกดังเช่นในนวนิยายขนาดสั้นเรื่อง “ความตายที่เมืองเวนิซ” นอกจากนั้น วิวัฒนาการทางความคิดของฟรีดริช นัทซ์เช่าเกี่ยวกับเรื่อง “การเอาชนะตนเอง” ยังส่งผลให้โธมัส มันน์เกิดความคิด ที่จะเอาชนะอำนาจของ “เอเชีย” ซึ่งตามบริบทของงานวรรณกรรมทั้งสองหมายถึงอำนาจแห่งความมัวเมาความเสื่อม ความตายและการถูกครอบงำโดยกิเลส อีกด้วย แนวคิดใหม่นี้สะท้อนอย่างเด่นชัดในนวนิยายเรื่อง “ภูเขา มนต์ขลัง” ตั้งแต่ตอนกลางเรื่องเป็นต้นไปซึ่งแนวคิดดังกล่าวไม่ปรากฏในเรื่อง “ความตายที่เมืองเวนิซ” |
Description: | Thesis (M.A.)--Chulalongkorn University, 2000 |
Degree Name: | Master of Arts |
Degree Level: | Master's Degree |
Degree Discipline: | German |
URI: | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/66184 |
URI: | http://doi.org/10.14457/CU.the.2000.223 |
ISBN: | 9743464689 |
metadata.dc.identifier.DOI: | 10.14457/CU.the.2000.223 |
Type: | Thesis |
Appears in Collections: | Arts - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Aratee_ka_front_p.pdf | Cover and abstract | 859.7 kB | Adobe PDF | View/Open |
Aratee_ka_ch1_p.pdf | Chapter 1 | 654 kB | Adobe PDF | View/Open |
Aratee_ka_ch2_p.pdf | Chapter 2 | 2.21 MB | Adobe PDF | View/Open |
Aratee_ka_ch3_p.pdf | Chapter 3 | 3.03 MB | Adobe PDF | View/Open |
Aratee_ka_ch4_p.pdf | Chapter 4 | 730.99 kB | Adobe PDF | View/Open |
Aratee_ka_ch5_p.pdf | Chapter 5 | 747.36 kB | Adobe PDF | View/Open |
Aratee_ka_back_p.pdf | Reference and appendix | 599.86 kB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.