Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/66373
Title: วาทกรรมของนักวิจัยชายและหญิงเรื่องเพศกับวัยรุ่น และการผลิตซ้ำของหนังสือพิมพ์
Other Titles: Discourse of male and female researchers on teenagers' sexuality and discourse reproduction by newspapers
Authors: พัชรา รุ่งสุข
Advisors: วิลาสินี พิพิธกุล
Other author: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะนิเทศศาสตร์
Subjects: วจนะวิเคราะห์
วัยรุ่น
เพศ
บุรุษ
สตรี
สตรีนิยม
ข่าวหนังสือพิมพ์
Issue Date: 2544
Publisher: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Abstract: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาว่า วาทกรรมอะไรที่ถูกผลิตขึ้นจากงานวิจัยเรื่องเพศกับวัยรุ่นของนักวิจัยชายและหญิง หนังสือพิมพ์มีแนวทางในการการผลิตซ้ำวาทกรรมของทั้งสองฝ่ายนี้อย่างไร วาทผลิตซ้ำในเรื่องเพศกรรมที่ถูกกับวัยรุ่นมีส่วนสร้างความจริงให้เกิดขึ้นในสังคมอย่างไร โดยการสัมภาษณ์และศึกษางานวิจัยเรื่องเพศกับวัยรุ่นของนักวิจัย 4 ท่านคือ สมพงษ์ จิตระดับ, สมประสงค์ พระสุจันทร์ทิพย์, อรสม สุทธิสาคร และลัดดา เหมาะสุวรรณรวมทั้งศึกษาเนื้อหางานวิจัยที่ปรากฏในหนังสือพิมพ์ ในฐานะผู้ผลิตซ้ำวาทกรรมจากหนังสือพิมพ์ 8 ชื่อฉบับคือ ไทยรัฐ, มติชน, สยามรัฐสัปดาห์วิจารณ์, ผู้จัดการรายวัน, ผู้จัดการรายสัปดาห์, เดลินิวส์, วัฏจักร, และไทยโพสต์ ในช่วงปี 2544 จนถึงเดือนมกราคม พ.ศ. 2545 รวมทั้งสัมภาษณ์สื่อมวลชนที่เกี่ยวข้องกับข่าววัยรุ่น จำนวน 7 คน วิเคราะห์เนื้อหาโดยใช้หลักการวิเคราะห์วาทกรรม ผลการวิจัยพบว่างานวิจัยของนักวิจัยชายและหญิงที่ผลิตออกมามีลักษณะที่แตกต่างกันบ้าง ทั้งในด้านการสื่อความหมายและรูปแบบการนำเสนอ จากการศึกษาสื่อมวลชนในการนำวาทกรรมมาผลิตซ้ำพบว่า เป็นไปตามหลักเกณฑ์ของหนังสือพิมพ์ที่เน้นเป้าหมายทางการตลาด โดยการสื่อสารให้ผู้อ่านเข้าใจง่าย นำเอาผลการวิจัยเฉพาะบางจุดที่พาดพิงถึงพฤติกรรมทางเพศที่ไม่เหมาะสม และการขายตัวของวัยรุ่นไปขยายเป็นประเด็นใหญ่ ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับนโยบายและแนวทางการนำเสนอของหนังสือพิมพ์แต่ละชื่อฉบับ และแสดงให้เห็นว่าสื่อมวลชนทำหน้าที่ทั้งตอกย้ำวาทกรรมเดิมและมีส่วนสร้างวาทกรรมใหม่ เพื่อเป็นทางเลือกให้แก่สังคมในการทำความเข้าใจเรื่องนี้
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาว่า วาทกรรมอะไรที่ถูกผลิตขึ้นจากงานวิจัยเรื่องเพศกับวัยรุ่นของนักวิจัยชายและหญิง หนังสือพิมพ์มีแนวทางในการการผลิตซ้ำวาทกรรมของทั้งสองฝ่ายนี้อย่างไร วาทผลิตซ้ำในเรื่องเพศกรรมที่ถูกกับวัยรุ่นมีส่วนสร้างความจริงให้เกิดขึ้นในสังคมอย่างไร โดยการสัมภาษณ์และศึกษางานวิจัยเรื่องเพศกับวัยรุ่นของนักวิจัย 4 ท่านคือ สมพงษ์ จิตระดับ, สมประสงค์ พระสุจันทร์ทิพย์, อรสม สุทธิสาคร และลัดดา เหมาะสุวรรณรวมทั้งศึกษาเนื้อหางานวิจัยที่ปรากฏในหนังสือพิมพ์ ในฐานะผู้ผลิตซ้ำวาทกรรมจากหนังสือพิมพ์ 8 ชื่อฉบับคือ ไทยรัฐ, มติชน, สยามรัฐสัปดาห์วิจารณ์, ผู้จัดการรายวัน, ผู้จัดการรายสัปดาห์, เดลินิวส์, วัฏจักร, และไทยโพสต์ ในช่วงปี 2544 จนถึงเดือนมกราคม พ.ศ. 2545 รวมทั้งสัมภาษณ์สื่อมวลชนที่เกี่ยวข้องกับข่าววัยรุ่น จำนวน 7 คน วิเคราะห์เนื้อหาโดยใช้หลักการวิเคราะห์วาทกรรม ผลการวิจัยพบว่างานวิจัยของนักวิจัยชายและหญิงที่ผลิตออกมามีลักษณะที่แตกต่างกันบ้าง ทั้งในด้านการสื่อความหมายและรูปแบบการนำเสนอ จากการศึกษาสื่อมวลชนในการนำวาทกรรมมาผลิตซ้ำพบว่า เป็นไปตามหลักเกณฑ์ของหนังสือพิมพ์ที่เน้นเป้าหมายทางการตลาด โดยการสื่อสารให้ผู้อ่านเข้าใจง่าย นำเอาผลการวิจัยเฉพาะบางจุดที่พาดพิงถึงพฤติกรรมทางเพศที่ไม่เหมาะสม และการขายตัวของวัยรุ่นไปขยายเป็นประเด็นใหญ่ ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับนโยบายและแนวทางการนำเสนอของหนังสือพิมพ์แต่ละชื่อฉบับ และแสดงให้เห็นว่าสื่อมวลชนทำหน้าที่ทั้งตอกย้ำวาทกรรมเดิมและมีส่วนสร้างวาทกรรมใหม่ เพื่อเป็นทางเลือกให้แก่สังคมในการทำความเข้าใจเรื่องนี้
Other Abstract: The objective of this research were to study 1) what discourses were constructed in research works of male and female researchers; on sex and teenagers 2) which strategise Thai newspapers of male and female researchers used for the reproduction of these two discourses 3) how the reproduction of these discourses contributed to the construction of reality on sex and teenagers in Thai society. The research data was collected by employing discourse analysis of 4 elected researchers’ works and by depth interviewing the researchers, namely Mr. Sompong Jitradup, Mr. Somprasong Prasuchantip, Ms. Orasom Suthisakorn, and Mrs. Ladda Mohsuwan. The other part of analysis was conducted through content analysis of newspapers coverage on the 4 research works as well as interviewing 7 journalists who covered social and teenagers’ issues. The result of this research revealed that : those discourses were different in their meanings and presentation formats among these research works. The media’s discourse reproduction were dominated by the newpapers’ marketing strategies which intended to make their newspapers more readable and interesting by reinforcing only the point of improper sexual behaviors and teenagers’ prostitution. However, it depended on each newspaper’ policy and its presentation style. The research pointed out that media acted as both the reproducers of dominant meanings and the producers of alternative meanings that were the options for the society in comprehending this issue.
The objective of this research were to study 1) what discourses were constructed in research works of male and female researchers; on sex and teenagers 2) which strategise Thai newspapers of male and female researchers used for the reproduction of these two discourses 3) how the reproduction of these discourses contributed to the construction of reality on sex and teenagers in Thai society. The research data was collected by employing discourse analysis of 4 elected researchers’ works and by depth interviewing the researchers, namely Mr. Sompong Jitradup, Mr. Somprasong Prasuchantip, Ms. Orasom Suthisakorn, and Mrs. Ladda Mohsuwan. The other part of analysis was conducted through content analysis of newspapers coverage on the 4 research works as well as interviewing 7 journalists who covered social and teenagers’ issues. The result of this research revealed that : those discourses were different in their meanings and presentation formats among these research works. The media’s discourse reproduction were dominated by the newpapers’ marketing strategies which intended to make their newspapers more readable and interesting by reinforcing only the point of improper sexual behaviors and teenagers’ prostitution. However, it depended on each newspaper’ policy and its presentation style. The research pointed out that media acted as both the reproducers of dominant meanings and the producers of alternative meanings that were the options for the society in comprehending this issue.
Description: วิทยานิพนธ์ (นศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2544
Degree Name: นิเทศศาสตรมหาบัณฑิต
Degree Level: ปริญญาโท
Degree Discipline: วารสารสนเทศ
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/66373
ISBN: 9741705301
Type: Thesis
Appears in Collections:Comm - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Patchara_ro_front_p.pdf743.86 kBAdobe PDFView/Open
Patchara_ro_ch1_p.pdf851.12 kBAdobe PDFView/Open
Patchara_ro_ch2_p.pdf1.66 MBAdobe PDFView/Open
Patchara_ro_ch3_p.pdf791.07 kBAdobe PDFView/Open
Patchara_ro_ch4_p.pdf4.24 MBAdobe PDFView/Open
Patchara_ro_ch5_p.pdf921.86 kBAdobe PDFView/Open
Patchara_ro_back_p.pdf6.81 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.