Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/66410
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุจิตรา จงสถิตย์วัฒนา-
dc.contributor.authorสกาวรัตน์ หาญกาญจนสุวัฒน์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะอักษรศาสตร์-
dc.date.accessioned2020-06-16T08:35:15Z-
dc.date.available2020-06-16T08:35:15Z-
dc.date.issued2544-
dc.identifier.isbn9740310591-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/66410-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (อ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2544-
dc.description.abstractการวิจัยนี้มุ่งศึกษา กลวิธีทางวรรณศิลป์ที่มีลักษณะดีเด่น ในงานวรรณกรรมของศักดิ์สิริ มีสมสืบ เพื่อชี้ให้เห็นว่ากลวิธีทางวรรณศิลป์ในงานมีความสัมพันธ์กับการดีความอย่างไร ผลการลึกษาพบว่า กลวิธีทางวรรณศิลป์ในงานวรรณกรรมของศักดิ์สิริ มีสมสืบ ทั้งเรื่องสั้นและกวีนิพนธ์ มีลักษณะร่วมที่โดดเด่น ทั้งกลวิธีการใช้ภาษาและกลวิธีการนำเสนอ ซึ่งมุ่งสร้างความหลายนัยและกระตุ้นการพิจารณาขบคิด กลวิธีทางวรรณศิลป์ที่สร้างความหลายนัยได้แก่ การใช้คำหลายนัยและสัญลักษณ์ การใช้คำสรรพนาม การนำเสนอตัวละคร และการปิดเรื่องส่วนกลวิธีทางวรรณศิลป์ที่กระตุ้นการพิจารณาขบคิด ได้แก่ การใช้ภาพพจน์ การซ้ำและการสร้างสมดุลทางโครงสร้าง การตั้งคำถาม การตั้งชื่อเรื่อง การนำเสนอตัวละคร การปิดเรื่อง และการลำดับภาพ กลวิธีทางวรรณศิลป์ที่ประสานกันอย่างเป็นเอกภาพ ได้ส่งผลให้งานวรรณกรรมของศักดิ์สิริ มีสมสืบ สามารถตีความได้หลายระดับ การจงใจใช้กลวิธีทางวรรณศิลป์ลักษณะดัง กล่าวนี้ สอดคล้องเหมาะสมกับสารอันลึกซึ้งที่กวีมุ่งสื่อสารสู่ผู้อ่านเป็นสำคัญ ได้แสดงให้เห็นเป็นที่ประจักษ์ชัดว่ากลวิธีทางวรรณศิลป์กับการตีความนั้นมีความสัมพันธ์ที่เอื้อต่อกันอย่างลึกซึ้ง-
dc.description.abstractalternativeThe thesis is and attempt to study the outstanding literary techniques in the works of Saksiri Meesomseub in order to illustrate the relationship between literary techniques and interpretation of the works. The study reveals that the literary techniques both in poetry and short stories of Saksiri Meesomseub share a common feature of ambiguity and the idea-inducing techniques. The ambiguity is created through the use of ambiguious words and symbols, pronouns, character-presentation and ending. The idea-inducing techniques is created through the use of imagery 1 repetition and parallelism, questions, titles, character-presentation, ending and image-sequencing. The harmony between all these literary techniques results in the potentials of multi-levelled interpretations in the works of Saksiri Meesomseub, these “intentional" literary techniques correspond to the subtlety of the message conveyed. Thus it is an evident illustration of the relationship between, literary techniques and interpretation of literary works.-
dc.language.isoth-
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.subjectศักดิ์สิริ มีสมสืบ-
dc.subjectศักดิ์สิริ มีสมสืบ -- กาวิจารณ์และการตีความหมาย-
dc.subjectศักดิ์สิริ มีสมสืบ -- วิธีเขียน-
dc.subjectวรรณกรรมไทย-
dc.subjectวรรณกรรมไทย -- ประวัติและวิจารณ์-
dc.titleวรรณกรรมของศักดิ์สิริ มีสมสืบ : กลวิธีทางวรรณศิลป์กับการตีความ-
dc.title.alternativeWorks of Saksiri Meesomseub : literary techniques and interpretation-
dc.typeThesis-
dc.degree.nameอักษรศาสตรมหาบัณฑิต-
dc.degree.levelปริญญาโท-
dc.degree.disciplineภาษาไทย-
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
Appears in Collections:Arts - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Sakaorat_ha_front_p.pdf796.05 kBAdobe PDFView/Open
Sakaorat_ha_ch1_p.pdf829.18 kBAdobe PDFView/Open
Sakaorat_ha_ch2_p.pdf3.43 MBAdobe PDFView/Open
Sakaorat_ha_ch3_p.pdf4.83 MBAdobe PDFView/Open
Sakaorat_ha_ch4_p.pdf1.04 MBAdobe PDFView/Open
Sakaorat_ha_ch5_p.pdf739.01 kBAdobe PDFView/Open
Sakaorat_ha_back_p.pdf644.46 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.