Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/66609
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorSathon Vijarnwannaluk-
dc.contributor.advisorBoossarasiri Thana-
dc.contributor.authorPakhwan Vanichnukroh-
dc.contributor.otherChulalongkorn University. Faculty of Science-
dc.coverage.spatialThailand-
dc.coverage.spatialไทย-
dc.date.accessioned2020-06-26T08:03:55Z-
dc.date.available2020-06-26T08:03:55Z-
dc.date.issued2005-
dc.identifier.issn9741422385-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/66609-
dc.descriptionThesis (M.Sc.)--Chulalongkorn University, 2005-
dc.description.abstractการกระจายตัวในแนวดิ่งของโอโซนถือเป็นสิ่งสำคัญในการตรวจติดตามชั้นโอโซนในบรรยากาศสามารถทำการตรวจวัดได้โดย โอโซนซอนด์ ด็อปสันสเปคโตรโฟดตมิเตอร์รือบรูเวอร์สเปคโตรโฟโต มิเตอร์ซึ่งเป็นเครื่องมือตรวจวัดภาคพื้นดิน และการตรวจวัดโดยดาวเทียม เพื่อที่จะหาค่าการกระจายตัว ของแนวดิ่งของโอโซนเหนือบริเวณสงขลา การตรวจวัดแบบอินเคอร์เครื่องมือบรูเวอร์สันสเปคโตรโฟโต มิเตอร์ หมายเลข 120 ของกลมอุตุนิยมวิทยา จึงถูกนำมาใช้ระหว่างปี พ.ศ. 2544-2546 และใช้ซอร์ฟ แวร์จากศูนย์ข้อมูลโอโซนโลกที่ถูกพัฒนาในปี พ.ศ. 2535 สำหรับการศึกษานี้ แบบจำลองเชิงถดถอยที่สร้างขึ้นมีพื้นฐานจากวิธีการของวอลตันในปี พ.ศ. 2502 เพื่อใช้คำนวณ ค่าการกระจายตัวในแนวดิ่งของโอโซนอย่างง่ายจากข้อมูลโอโซนรวมสำหรับในวันที่ไม่สามารถตรวจวัด แบบอัมเคอร์ได้ ผลจากการคำนวณโดยใช้ซอร์ฟแวร์และแบบจำลองในการหาค่าการกระจายตัวในแนวดิ่ง ของโอโซนพบว่าสอดคล้องกันแม้เปรียบเทียบกับค่าที่ได้จากดาวเทียม SSGE II และโอโซนซอนด์จากมาเลเซีย ค่าการกระจายตัวในแนวดิ่งของโอโซนเหนือบริเวณสงขลาพบว่ามีความหนาแน่นที่ความสูง 26-28 กิโลเมตร และค่าเฉลี่ยรายปีประมาณ 47x10 โมเลกุลต่อลูกบาศก์เซนติเมตรในปี พ.ศ. 2544 และ 49 x 10 โมเลกุลต่อลูกบาศก์เซนติเมตรในปี พ.ศ. 2545 เนื่องจากไม่มีการลดลงของโอโซนในเขตร้อน ดังนั้นการ เปลี่ยนแปลงของโดโซนในระยะยาวจึงไม่แตกต่างมากนักยกเว้นค่าโอโซนผิวพื้นที่มีค่าสูงซึ่งแสดงให้เห็นถึง มลภาวะบริเวรสถานีในเมือง-
dc.language.isoen-
dc.publisherChulalongkorn University-
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2005.1833-
dc.rightsChulalongkorn University-
dc.subjectOzone -- Thailand -- Songkhla-
dc.subjectOzone layer-
dc.subjectโอโซน -- ไทย -- สงขลา-
dc.subjectชั้นโอโซน-
dc.titleThe vertical distribution of ozone over Songkhla, Thailand-
dc.title.alternativeการกระจายตัวในแนวดิ่งของโอโซนเหนือบริเวณสงขลา ประเทศไทย-
dc.typeThesis-
dc.degree.nameMaster of Science-
dc.degree.levelMaster's Degree-
dc.degree.disciplineEarth Sciences-
dc.degree.grantorChulalongkorn University-
dc.email.advisorSathon.V@Chula.ac.th-
dc.email.advisorBoossarasiri.T@Chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2005.1833-
Appears in Collections:Sci - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Pakhwan_va_front_p.pdfCover Abstract and Content900.14 kBAdobe PDFView/Open
Pakhwan_va_ch1_p.pdfChapter 1651.48 kBAdobe PDFView/Open
Pakhwan_va_ch2_p.pdfChapter 21.52 MBAdobe PDFView/Open
Pakhwan_va_ch3_p.pdfChapter 3944.15 kBAdobe PDFView/Open
Pakhwan_va_ch4_p.pdfChapter 4851.89 kBAdobe PDFView/Open
Pakhwan_va_ch5_p.pdfChapter 51.02 MBAdobe PDFView/Open
Pakhwan_va_back_p.pdfReferences and Appendix993.48 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.