Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/66679
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสมภาร พรมทา-
dc.contributor.authorพรรณิภา หลินปิยวรรณ์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะอักษรศาสตร์-
dc.date.accessioned2020-06-29T08:29:52Z-
dc.date.available2020-06-29T08:29:52Z-
dc.date.issued2548-
dc.identifier.isbn9741432526-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/66679-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2548-
dc.description.abstractวัตถุประสงค์ของการวิจัย เพื่อศึกษาเปรียบเทียบวัตรปฏิบัติของพระสงฆ์คามวาสีกับพระสงฆ์อรัญวาสี และศึกษาความเปลี่ยนแปลงในวัตรปฏิบัติของพระสงฆ์ทั้งสองฝ่ายในสังคมไทยปัจจุบัน การศึกษาครั้งนี้ใช้วิธีการศึกษาจากเอกสาร และการวิจัยภาคสนาม โดยศึกษาจากกลุ่มพระสงฆ์คามวาสีฝ่ายคันธุระและพระสงฆ์อรัญวาสีฝ่ายวิปัสสนาธุระ ด้วยแบบสอบถามและการสัมภาษณ์ ผลการศึกษาพบว่า เดิมเข้าใจว่าพระสงฆ์คามวาสีเน้นการสืบทอดพระพุทธศาสนาในด้านปริยัติและพระสงฆ์อรัญวาสีเน้นการสืบทอดพระพุทธศาสนาด้านการปฏิบัติ แต่ในปัจจุบันพระสงฆ์คามวาสีมีแนวโน้มหันมาปฏิบัติกรรมฐาน และพระอรัญวาสีจำนวนหนึ่งได้ให้ความสนใจต่อปัญหาสังคมด้วย นอกจากนั้นพระอรัญวาสีมีแนวโน้มหันมาศึกษาพระไตรปิฎกด้วยอีกประการหนึ่ง ทั้งพระคามวาสีและพระอรัญวาสีจำนวนหนึ่งได้มีการเปลี่ยนแปลงข้อวัตรในอดีตที่เคยทำทุกวัน เป็นข้อวัตรที่ทำทุกวันน้อยลง เช่น การปัจจเวก การบิณฑบาต นอกจากนั้นการวิจัยยังพบว่า พระภิกษุสามเณรเกือบทุกรูปมีค่าใช้จ่ายส่วนตัวเป็นค่าเดินทาง ค่าโทรศัพท์มือถือ ค่าอาหาร ค่าไฟฟ้า เป็นต้น-
dc.description.abstractalternativeThe objective of this thesis is to comparatively study the daily practices of the gamavasi and the arannavasi bhikhus and to study the tendency of changing the daily practices of the gamavasi and the arannavasi bhikkhus in contemporary Thai society. The research has utilized documentary evidence and practical fieldwork by a questionnaire and interview of both the gamavasi and the arannavasi bhikkhus. The results of the research states that some gamavasi bhikkhus have changed to concentrate on meditation practice and also to study the Scriptures. Likewise some arannavasi bhikkhus not only concentrate the contemplation but also rescue the social welfare. Besides that the daily practice: the Paccavekka, to go for alms, etc. has gradually declined. In addition, most bhikkhus are now responsible for their outgoings such as traveling expense, mobile phone expense, food and electric expense, etc.-
dc.language.isoth-
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.subjectสงฆ์ -- วินัย-
dc.subjectสงฆ์ -- กฎและการปฏิบัติ-
dc.subjectPriests, Buddhist -- Discipline-
dc.subjectBuddhist priests -- Customs and practices-
dc.titleการศึกษาเปรียบเทียบวัตรปฏิบัติของพระสงฆ์คามวาสีกับพระสงฆ์อรัญวาสีในสังคมไทยปัจจุบัน-
dc.title.alternativeComparative study of the daily practice of the gamavasi and the arannavasi bhikkhus in contemporary Thai society-
dc.typeThesis-
dc.degree.nameศิลปศาสตรมหาบัณฑิต-
dc.degree.levelปริญญาโท-
dc.degree.disciplineพุทธศาสน์ศึกษา-
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.email.advisorSomparn.P@Chula.ac.th-
Appears in Collections:Arts - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Punnipar_li_front_p.pdf816.44 kBAdobe PDFView/Open
Punnipar_li_ch1_p.pdf728.27 kBAdobe PDFView/Open
Punnipar_li_ch2_p.pdf1.31 MBAdobe PDFView/Open
Punnipar_li_ch3_p.pdf2.01 MBAdobe PDFView/Open
Punnipar_li_ch4_p.pdf2.14 MBAdobe PDFView/Open
Punnipar_li_ch5_p.pdf1.07 MBAdobe PDFView/Open
Punnipar_li_back_p.pdf2.3 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.