Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/66752
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorปารเมศ ชุติมา-
dc.contributor.authorวิรชัย วงษ์สุวรรณ-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์-
dc.date.accessioned2020-07-01T06:41:04Z-
dc.date.available2020-07-01T06:41:04Z-
dc.date.issued2548-
dc.identifier.isbn9745323012-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/66752-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2548-
dc.description.abstractงานวิจัยนี้ได้ทำการวิจัยในการปรับตั้งมุมเอียงล้อหน้า (Camber) ของโรงงานประกอบรถยนต์กระบะโดยการมุ่งที่จะลดความแปรปรวนของค่าความแตกต่างของมุมเอียงล้อหน้า (Camber) ซึ่งเป็นสาเหตุหนึ่งที่สำคัญของการทำให้เกิดความมีเสถียรภาพในการขับขี่รถยนต์ซึ่งเป็นหัวข้อร้องเรียนในแฟ้มข้อมูลของลูกค้าร้องเรียนของบริษัท (Thing Gone Wrong) จากการวิเคราะห์ความรวมของกระบวนการก่อนการปรับปรุงพบว่ามีโอกาสที่จะเกิดผลิตภัณฑ์ที่มีค่าความแตกต่างมุมแคมเบอร์เกินกว่าที่กำหนดประมาณ 143857.34 ppm ในการวิจัยได้ใช้ขั้นตอนตามวิธีซิกซ์ ซิกมาซึ่งแบ่งออกเป็น 5 ขั้นตอนซึ่งใช้หลักการทางสถิติเพื่อการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรหรือปัจจัยที่นำเข้าในกระบวนการที่ส่งผลต่อผลลัพธ์ของกระบวนการโดยในขั้นตอนแรกคือการนิยามปัญหาคือการระบุคุณสมบัติใดของผลิตภัณฑ์และกระบวนการที่จะทำการปรับปรุงขั้นตอนที่สองคือการวัดเพื่อระบุสาเหตุของปัญหาคือการค้นหาสาเหตุที่จะเป็นไปได้ของปัญหาดังกล่าวและทำการจัดลำดับความสำคัญของสาเหตุเหล่านั้นด้วยการใช้ Cause and Effect Matrix และ Failure Mode Effect Analysis (FMEA) ในขั้นตอนที่สามคือการวิเคราะห์หาสาเหตุที่มีผลต่อปัญหาอย่างมีนัยสำคัญขั้นตอนที่สี่คือการหาวิธีที่จะปรับปรุงสาเหตุของปัญหาดังกล่าวเพื่อให้ได้ผลลัพธ์ที่ต้องการและขั้นตอนที่ห้าขั้นตอนการควบคุมคือขั้นตอนที่จะหาแนวทางหรือกลยุทธ์ที่จะใช้ควบคุมการเปลี่ยนแปลงที่ได้ปรับปรุงไปแล้วให้คงสภาพอยู่ได้ตลอดเพื่อไม่ให้ปัญหากลับเกิดขึ้นมาอีกครั้ง หลังจากการปรับพบว่าข้อมูลของค่าความแตกต่างของมุมแคมเบอร์ซึ่งสามารถประมาณผลิตภัณฑ์ที่เกินข้อกำหนดมีค่า 33129.25 DPPM. ซึ่งลดลงจากเดิมร้อยละ 83 และข้อมูลของข้อร้องเรียนจากลูกค้าลดลงจาก 58 TGW เหลือ 29 TGW. ซึ่งเป็นผลให้ลดค่าใช้จ่ายในการแก้ไขได้ประมาณปีละ 1,650,000 บาท-
dc.description.abstractalternativeThis research has been performed on the Camber Angle difference of Pick Up truck manufacturing. The research aims to reduce the variation of Camber angle difference which potential cause of driving stability that has been complained by the customer in the Thing Gone Wrong data (TGW). The current process capability gas estimated the defect part per million (PPM.) of Camber angle difference that exceed specification 143857.34 DPPPM. The step of research has been followed the Five phases of Six sigma methodology. The first phase is problem define is the identifying product and/or process characteristic to be improved. The second phase is Measure phase to determine process out put variable or the performance, validate the measurement system. And find out the potential process in put variables that are listed by Process mapping then prioritized by Cause and effect matrix and Failure mode Effect Analysis. The third phase is Analyze Phase is to use statistical analysis techniques to find out the vital few KPIVs. The forth phase is lmprove Phase is to determine the optimum condition of vital KPIVs. To result in optimum KPOV. Finally, Control phase is to control and maintain the optimum condition all KPIVs. And monitor the improved process performance of Camber angle difference to meet specification consistently. After improved process, the data Camber Angle difference that estimated from process capability show 33129.25 DPPM. That is around 83% improvement of amount of defect after improved process and the TGW. Data is improved from 58 to 29. In addition it could reduce Cost of Poor Quality about 1,650,000 Baht per years.-
dc.language.isoth-
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.subjectอุตสาหกรรมรถยนต์ -- การควบคุมคุณภาพ-
dc.subjectการควบคุมกระบวนการผลิต-
dc.subjectซิกซ์ซิกมา (มาตรฐานการควบคุมคุณภาพ)-
dc.subjectAutomobile industry and trade -- Quality control-
dc.subjectProcess control-
dc.subjectSix sigma (Quality control standard)-
dc.titleการลดความแปรปรวนของค่าความแตกต่างมุมแคมเบอร์ในโรงงานประกอบรถกระบะโดยใช้แนวทางซิกซ์ ซิกมา-
dc.title.alternativeVariance reduction of camber angle differnce in pick up truck assembly plant by six sigma methodlogy-
dc.typeThesis-
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต-
dc.degree.levelปริญญาโท-
dc.degree.disciplineวิศวกรรมอุตสาหการ-
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Wirachai_wo_front_p.pdfหน้าปก สารบัญ และบทคัดย่อ1.04 MBAdobe PDFView/Open
Wirachai_wo_ch1_p.pdfบทที่ 11.29 MBAdobe PDFView/Open
Wirachai_wo_ch2_p.pdfบทที่ 21.76 MBAdobe PDFView/Open
Wirachai_wo_ch3_p.pdfบทที่ 31.48 MBAdobe PDFView/Open
Wirachai_wo_ch4_p.pdfบทที่ 4793.35 kBAdobe PDFView/Open
Wirachai_wo_ch5_p.pdfบทที่ 51.07 MBAdobe PDFView/Open
Wirachai_wo_ch6_p.pdfบทที่ 61.8 MBAdobe PDFView/Open
Wirachai_wo_ch7_p.pdfบทที่ 71.1 MBAdobe PDFView/Open
Wirachai_wo_ch8_p.pdfบทที่ 8785.57 kBAdobe PDFView/Open
Wirachai_wo_ch9_p.pdfบทที่ 9742.61 kBAdobe PDFView/Open
Wirachai_wo_ch10_p.pdfบทที่ 10825.89 kBAdobe PDFView/Open
Wirachai_wo_back_p.pdfบรรณานุกรมและภาคผนวก753.44 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.