Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/66780
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorAjchara Harnchoowong-
dc.contributor.advisorVichian Laohakosol-
dc.contributor.authorTuangrat Chaichana-
dc.contributor.otherChulalongkorn University. Faculty of Science-
dc.date.accessioned2020-07-02T04:02:44Z-
dc.date.available2020-07-02T04:02:44Z-
dc.date.issued2005-
dc.identifier.isbn9741759142-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/66780-
dc.descriptionThesis (Ph.D.)--Chulalongkorn University, 2005-
dc.description.abstractA natural abstraction of rationality is that of linear independence, while for algebraicconsideration, a natural abstraction of transcendence is that of algebraic independence. Alsowell-known is that each real number is representable as a simple continued fraction. Combiningindependence with representation, there arises a natural problem of characterizing elements viatheir representations. The work in this thesis centers around these two concepts, namely,continued fraction representation and their independence, in the field of Laurent series over afinite field, referred to here as function field. The major part of the thesis are devoted to the establishing of two general independencecriteria, one for linear and the other for algebraic independence and to the extensivecomputation of intriguing examples. The linear independence criterion states roughly that ifthe partial quotients grow at a moderately fast rate, their continued fractions are linearlyindependent. This linear independence criterion when applied to the real case encompasses thatobtained by Hancl in 2002. As to algebraic independence, a Liouville-type sufficient conditionthrough rational approximations is proved. When applied to continued fractions, it yields anumber of criteria which show that exponentially growing partial quotients imply algebraicindependence. Two interesting types of explicit continued fractions are worked out as examplesillustrating the strength of the criteria so obtained-
dc.description.abstractalternativeความเป็นอิสระเชิงเส้น คือ แนวคิดที่ขยายแนวคิดของความเป็นตรรกยะให้เป็นนามธรรมในทำนองเดียวกัน ความเป็นอิสระเชิงพีชคณิต คือ แนวคิดที่ขยายแนวคิดว่าด้วยความเป็นอดิศัยให้เป็นนามธรรม เป็นที่ทราบกันดีว่า จำนวนจริงแต่ละจำนวนสามารถเขียนแทนได้ด้วยเศษส่วนต่อเนื่องเชิงเดียวเมื่อผสมผสาน แนวคิดว่าด้วยความเป็นอิสระกับการสร้างตัวแทน จะได้โจทย์ปัญหาว่าด้วยการจำแนกลักษณะของสมาชิกโดยผ่านทางตัวแทน วิทยานิพนธ์ฉบับนี้เกี่ยวข้องกับแนวคิดทั้งสอง กล่าวคือ การแทนสมาชิกด้วยเศษส่วนต่อเนื่อง และความเป็นอิสระของเศษส่วนต่อเนื่องในสนามของอนุกรม Laurent เหนือสนามจำกัด ซึ่งเป็นที่รู้จักกันในนาม สนามฟังก์ชัน ส่วนสำคัญของวิทยานิพนธ์ฉบับนี้ คือ การสร้าง และการพิสูจน์เกณฑ์สองประเภท ประเภทแรกเพื่อใช้ในการตรวจสอบความเป็นอิสระเชิงเส้น เกณฑ์ประเภทที่สองสำหรับตรวจสอบความเป็นอิสระเชิงพีชคณิต และการคำนวณตัวอย่างที่น่าสนเท่ห์เชิงวิเคราะห์ เกณฑ์การตรวจสอบความเป็นอิสระเชิงเส้นที่ได้รับ กล่าวโดยย่อว่า ถ้าผลหารย่อยของเศษส่วนต่อเนื่อง มีอัตราการโตที่เร็วมากพอ แล้วเศษส่วนต่อเนื่องเหล่านี้จะเป็นอิสระเชิงเส้นต่อกัน เกณฑ์ดังกล่าวนี้เมื่อประยุกต์ใช้กับกรณีของจำนวนจริงจะครอบคลุมผลงานของ Hancl ที่ได้ทำไว้ในปี 2002 ส่วนการตรวจสอบความเป็นอิสระเชิงพีชคณิต ได้พบและพิสูจน์เงื่อนไขที่เพียงพอแบบ Liouville สำหรับความเป็นอิสระเชิงพีชคณิตที่สร้างจากการประมาณเชิงตรรกยะเงื่อนไขดังกล่าว เมื่อประยุกต์ใช้กับเศษส่วนต่อเนื่อง จะให้เกณฑ์ที่กล่าวว่า ผลหารย่อยที่เติบโตอย่างรวดเร็วแบบชี้กำลังจะก่อให้เกิดความเป็นอิสระเชิงพีชคณิต ในส่วนของตัวอย่าง ได้ทำการคำนวณเศษส่วนต่อเนื่องแจ้งชัดที่น่าสนใจอย่างยิ่งสองจำพวก ตัวอย่างดังกล่าวชี้ให้เห็นอย่างชัดเจนถึงประสิทธิภาพของเกณฑ์ที่ได้รับข้างต้น-
dc.language.isoen-
dc.publisherChulalongkorn University-
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2005.1854-
dc.rightsChulalongkorn University-
dc.subjectContinued fractions-
dc.subjectAlgebraic independence-
dc.subjectLinear dependence (Mathematics)-
dc.subjectเศษส่วนต่อเนื่อง-
dc.subjectปริญญาดุษฎีบัณฑิต-
dc.titleIndependence of continued fractions in function fields-
dc.title.alternativeความอิสระของเศษส่วนต่อเนื่องในสนามฟังก์ชัน-
dc.typeThesis-
dc.degree.nameDoctor of Philosophy-
dc.degree.levelDoctoral Degree-
dc.degree.disciplineMathematics-
dc.degree.grantorChulalongkorn University-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2005.1854-
Appears in Collections:Sci - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Tuangrat_ch_front_p.pdfหน้าปก บทคัดย่อ และสารบัญ798.71 kBAdobe PDFView/Open
Tuangrat_ch_ch1_p.pdfบทที่ 1668.83 kBAdobe PDFView/Open
Tuangrat_ch_ch2_p.pdfบทที่ 21.45 MBAdobe PDFView/Open
Tuangrat_ch_ch3_p.pdfบทที่ 31.22 MBAdobe PDFView/Open
Tuangrat_ch_ch4_p.pdfบทที่ 4922.01 kBAdobe PDFView/Open
Tuangrat_ch_back_p.pdfบรรณานุกรม และภาคผนวก687.67 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.