Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/66912
Title: Admicellar polymerization of doped polypyrrole and polythiophene on natural rubber
Authors: Adisorn Chirasakulkarun
Advisors: Rathanawan Magaraphan
Other author: Chulalongkorn University. The Petroleum and Petrochemical College
Issue Date: 2008
Publisher: Chulalongkorn University
Abstract: Polypyrrole (PPy) and polythiophene (PTh) are good electrically conductive polymers; however, they have poor processibility and their flexibility is limited. To overcome these limitations, electrochemical and admicellar polymerization with Sodium Dodecyl Sulfate (SDS) is used. The admicellar polymerization of PPy and PTh by electrochemical method over natural rubber particles is investigated by varying monomer content and applied voltages. The success of synthesis was confirmed by density, FTIR, SEM, TGA, and TEM. Mechanical properties of admicelled rubber were revealed by tensile strength and hardness test. The conductivity of the modified rubber is about 10⁻⁹ to 10⁻⁴ S/cm for PPy and about 10⁻¹²to 10⁻⁶ S/cm, both of which are much higher than that of natural rubber by several orders (the conductivity of pure natural rubber is about 10⁻¹⁵ S/cm).
Other Abstract: พอลิไพโรล (PPy) และพอลีไทโอฟีน (PTh) จัดเป็นพอลิเมอร์ที่คุณสมบัติในการนำไฟฟ้าได้ดี แต่มีข้อจำกัดในความสามารถการขึ้นรูปและความยืดหยุดของวัสดุประเภทนี้ไม่ดีนัก วิธีการแก้ปัญหาสามารถทำได้โดยใช้จากการใช้วิธีการแอดไมเซล ด้วยเทคนิคอิโตรเคมี ทำโดยการเคลือบแบบบางของฟิล์มพอลิเมอร์บนพื้นผิวที่มีประจุ โดยการใช้สารลดแรงตึงผิวเป็นแม่แบบ งานวิจัยนี้ใช้เม็ดยางธรรมชาติเป็นวัสดุที่จะถูกเคลือบด้วยชั้นของสารลดแรงตึงผิวโซเดียมโดเดซิลซัลเฟต (SDS) โดยทำการศึกษาจากการเพิ่มประมาณพอลิเมอร์ในยางธรรมชาติที่ถูกเคลือบด้วยสารลดแรงตึงผิว จากนั้นใช้เทคนิคการดูดกลืนแสงรังสีอินฟาเรดแบบฟูเรียทรานสฟอร์ม เพื่อยืนยันความสำเร็จในการสังเคราะห์ การทดสอบคุณสมบัติการทนต่ออุณหภูมิของเม็ดยางที่ผ่านกระบวนการเคลือบผิวแล้วพบว่าอุณหภูมิในการสลายตัวเพิ่มสูงขึ้นเมื่อเทียบกับพอลิไพโรลและพอลิไทโอฟีนที่บริสุทธิ์ ซึ่งแสดงให้เห็นว่าเม็ดยางเคลือบผิวมีคุณสมบัติในการทนต่อความร้อนที่ดีขึ้น ในด้านคุณสมบัติเชิงกลของเม็ดยางเคลือบผิวก็ได้รับการปรับปรุงให้ดีขึ้นเช่นกัน โดยเม็ดยางเคลือบผิวจะมีความแข็งที่มากกว่าเม็ดยางธรรมชาติ และจากผลการศึกษาคุณสมบัติในการนำไฟฟ้าของเม็ดยางเคลือบผิวพบว่ามีค่าการนำไฟฟ้าประมาณ 10⁻⁶ ถึง 10⁻⁴ S/cm ซึ่งมีค่ามากกว่าค่าการนำไฟฟ้าของยางธรรมชาติหลายเท่า เนื่องจากโดยปกติยางธรรมชาติมีค่าการนำไฟฟ้าเพียง 10⁻¹⁵ S/cm.
Description: Thesis (M.Sc.)--Chulalongkorn University, 2008
Degree Name: Master of Science
Degree Level: Master's Degree
Degree Discipline: Polymer Science
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/66912
Type: Thesis
Appears in Collections:Petro - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Adisorn_ch_front_p.pdfหน้าปก บทคัดย่อ และสารบัญ1.4 MBAdobe PDFView/Open
Adisorn_ch_ch1_p.pdfบทที่ 1744.83 kBAdobe PDFView/Open
Adisorn_ch_ch2_p.pdfบทที่ 23.42 MBAdobe PDFView/Open
Adisorn_ch_ch3_p.pdfบทที่ 31.08 MBAdobe PDFView/Open
Adisorn_ch_ch4_p.pdfบทที่ 44.32 MBAdobe PDFView/Open
Adisorn_ch_ch5_p.pdfบทที่ 54.29 MBAdobe PDFView/Open
Adisorn_ch_ch6_p.pdfบทที่ 62.19 MBAdobe PDFView/Open
Adisorn_ch_ch7_p.pdfบทที่ 73.94 MBAdobe PDFView/Open
Adisorn_ch_ch8_p.pdfบทที่ 81.15 MBAdobe PDFView/Open
Adisorn_ch_ch9_p.pdfบทที่ 9697.27 kBAdobe PDFView/Open
Adisorn_ch_back_p.pdfบรรณานุกรม และภาคผนวก4.23 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.