Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/67883
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorขวัญใจ อรุณสมิทธิ-
dc.contributor.authorชัยยงค์ ลือวิริยะพันธุ์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะเศรษฐศาสตร์-
dc.date.accessioned2020-09-14T06:23:21Z-
dc.date.available2020-09-14T06:23:21Z-
dc.date.issued2542-
dc.identifier.issn9743460241-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/67883-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2542-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาถึงผลกระทบจากการเปิดเสรีการค้าภูมิภาคเอเชียแปซิฟิกของอุตสาหกรรมอาหารแปรรูปของไทยว่าด้วยการลดภาษีศุลกากร โดยพิจารณาภายใต้อัตราการแลกเปลี่ยนลอยตัว ในการศึกษานี้ได้ใช้วิธีการคำนวณดุลยภาพทั่วไปในการคำนวณหาผลกระทบดังกล่าว เนื่องจากเป็นวิธีการที่มีการมองถึงภาพพจน์ของระบบเศรษฐกิจอย่างเจาะลึกลงไปในระดับอุตสาหกรรมทุกส่วน และมีการจัดเครือข่ายของความสัมพันธ์ระหว่างองค์ประกอบต่าง ๆ ให้มีความเชื่อโยงอย่างเป็นระบบแบบแผน ส่งผลให้การติดตามผลต่อเนื่องอย่างเป็นลูกโซ่ และแบบจำลองที่ใช้ คือ แบบจำลองแคมเจม ซึ่งเป็นแบบจำลองเศรษฐกิจของประเทศไทย สร้างขึ้นโดยความร่วมมือระหว่างคณะเศรษฐศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และมหาวิทยาลัยมอแนช ออสเตรเลีย ผลการศึกษาพบว่า การเปิดเสรีการค้าเอเปคของอุตสาหกรรมอาหารแปรรูปทำให้อุตสาหกรรมอาหารแปรรูปของไทยได้รับประโยชน์มากน้อยแตกต่างกันไปในแต่ละอุตสาหกรรม และนำไปสู่การขยายตัวของอุตสาหกรรมอาหารแปรรูปสูง ก่อให้เกิดการขยายตัวทางเศรษฐกิจของประเทศ และเมื่อพิจารณาการลดค่าเงินบาทร่วมด้วย การส่งออกอุตสาหกรรมอาหารแปรรูปของไทยยังคงเพิ่มขึ้น ส่วนทางด้านการผลิตยังคงมีการขยายตัวในบางอุตสาหกรรมเท่านั้น แต่จะทำให้เกิดการหดตัวลงทางเศรษฐกิจของประเทศ อย่างไรก็ตามการเปิดเสรีการค้าเอเปคของอุตสาหกรรมอาหารแปรรูปก็มีแนวโน้มที่จะทำให้อุตสาหกรรมอาหารแปรรูปของไทยเผชิญกับการแข่งขันที่รุนแรงขึ้น ดังนั้นการเพิ่มประสิทธิภาพในการผลิตจึงเป็นปัจจัยที่สำคัญในการที่จะรักษาความสามารถในการแข่งขันของอุตสาหกรรมนี้-
dc.description.abstractalternativeThe objective of this study was to analyze the impact of tariff reduction according to APEC liberalization processed food industry under flexible exchange rate regime. The methodology employed was that of general equilibrium approach whereby inter-linkage among industries could be scrutinized and inter-relationship among economic agents could be systematically integrated into the model, Thus enable ones to trace out the chained reaction following a change in some policy variables. The model used in this study was based on CAMGEM, a multi-sectoral mode of the Thai economy built through a co-operation between the Faculty of Economics, Chulalongkorn University and Monash University of Australia. The results indicated that The APEC liberalization of processed food industry differently gave benefit within Thai processed food industry, led to the expansion in other industries’ outpu which was highly related to processed food industry, and enhancing the country’s economic growth. When devaluation was taken into consideration, the export volume on Thai processed food industry was still increasing whereas some Thai processed food industries’ output were still expanding. The whole economy was contracted due to the devaluation of Thai Bath. However, the APEC liberalization would lead to harder competitions from overseas competitors. As a policy recommendation, the efficiency improvements in the processed food industry were essential factors to survive in this industry.-
dc.language.isoth-
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.subjectอุตสาหกรรมแปรรูปอาหาร -- ไทย-
dc.subjectความร่วมมือทางเศรษฐกิจ -- เอเชีย-
dc.subjectการค้าเสรี -- เอเชีย-
dc.subjectอุตสาหกรรมอาหาร-
dc.subjectความร่วมมือทางเศรษฐกิจในภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิก (องค์การ)-
dc.subjectไทย -- ภาวะเศรษฐกิจ-
dc.titleการวิเคราะห์ผลกระทบการเปิดเสรีการค้าในภูมิภาคเอเซีย-แปซิฟิก ของอุตสาหกรรมอาหารแปรรูป โดยใช้แบบจำลองดุลยภาพทั่วไป-
dc.title.alternativeThe Computable general equilibrium analysis for the impact of APEC liberalization of processed food industry-
dc.typeThesis-
dc.degree.nameเศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต-
dc.degree.levelปริญญาโท-
dc.degree.disciplineเศรษฐศาสตร์-
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
Appears in Collections:Econ - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Chaiyong_le_front_p.pdfหน้าปก บทคัดย่อ และสารบัญ976.68 kBAdobe PDFView/Open
Chaiyong_le_ch1_p.pdfบทที่ 11.25 MBAdobe PDFView/Open
Chaiyong_le_ch2_p.pdfบทที่ 21.51 MBAdobe PDFView/Open
Chaiyong_le_ch3_p.pdfบทที่ 31.26 MBAdobe PDFView/Open
Chaiyong_le_ch4_p.pdfบทที่ 41.48 MBAdobe PDFView/Open
Chaiyong_le_ch5_p.pdfบทที่ 52.81 MBAdobe PDFView/Open
Chaiyong_le_ch6_p.pdfบทที่ 6951.48 kBAdobe PDFView/Open
Chaiyong_le_back_p.pdfบรรณานุกรม และภาคผนวก1 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.