Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/69005
Title: สัญญาร่วมมือระหว่างองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
Other Titles: Contract for the co-operation of the local administrative organ
Authors: สมภพ ธาตรีนรานนท์
Advisors: ศุภลักษณ์ พินิจภูวดล
สมคิด เลิศไพฑูรย์
Other author: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย
Advisor's Email: Supalak.P@Chula.ac.th
l_Somkit@Yahoo.com
Subjects: งบประมาณลงทุน
บริการสาธารณะ
การปกครองท้องถิ่น
ความร่วมมือองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
นิติกรรมทางการปกครอง
Issue Date: 2541
Publisher: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Abstract: องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีฐานะเป็นนิติบุคคล และเป็นองค์กรที่มีความเป็นอิสระแต่ถึงกระนั้นจำเป็นที่จะต้องมีระบบการบริหารงบประมาณการบริหารงานบุคคลตามความเหมาะสมแก่ท้องถิ่นซึ่งต้องอาศัยความร่วมมือระหว่างกัน และการกระทำดังกล่าวอาจอยู่ในรูปของการจัดทำสัญญาร่วมมือระหว่างองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในด้านการจัดทำบริการสาธารณะ อนึ่ง สัญญาดังกล่าวเป็นสัญญาที่มีหลักการพื้นฐานอันเกี่ยวด้วยนิติกรรมและสัญญาทางแพ่ง ซึ่งสอดคล้องกับหลักความเสมอภาคของคู่สัญญา และนอกจากนั้นยังได้รับการ พิจารณาว่าเป็นสัญญาทางปกครอง ที่วางอยู่บนพื้นฐานของการใช้อำนาจรัฐ (นิติกรรมทางปกครอง) ภายใต้หลักความศักดิ์สิทธิ์ของเจตนารวมทั้งหลักความเสมอภาคของคู่สัญญามาพิจารณา รูปแบบของสัญญาร่วมมือระหว่างองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจึงเป็นเรื่องที่เกี่ยวกับการตกลงร่วมมือระหว่างท้องถิ่น ไม่ว่าจะเป็นการจัดซื้อจัดจ้าง การร่วมกันจัดทำบริการสาธารณะต่าง ๆ ตลอดจนการจัดทำข้อตกลงกันในเรื่องการใช้อำนาจรัฐดังนั้นการจัดทำสัญญาร่วมมือในส่วนที่เกี่ยวกับการจัดทำบริการสาธารณะในประเทศไทยย่อมจะอำนวย ประโยชน์ต่อการบริหารท้องถิ่นเป็นอย่างมาก จึงสมควรพิจารณากำหนดบทบัญญัติในเรื่องดังกล่าวไว้ในกฎหมายว่าด้วยการปกครองส่วนท้องถิ่น
Other Abstract: Local administrative organ are independence justice person responsible for providing public service within their areas. So, the financial and personnel system of each local administrative is different from the other, depending on special characteristic of each community. However there are many kinds of public services in which the best service will come from the co-operation between local administrative organ. Therefor in many cases, local administrative organ do contract to provide public service together เท form of contract for the co-operation of the local administrative organ. In the writer’s view, even though in one sense the contract for the co-operation of the local administrative seems to be private contract since it bases on the principal of equality to the parties to the contract. In contrast, it is clearly seen that the core concept of this kind of contract is the co-operation between the two or more public organs responsible for providing public service, and the ultimate goal of this contract is not difference from any other public contract ; that is to provide public service. This kind of contract should therefore be classified to be public contract. In addition, because the co-operation contract play an important role for providing public service in each locality, it should therefore be subject to the provisions the law on local authorities.
Description: วิทยานิพนธ์ (น.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2541
Degree Name: นิติศาสตรมหาบัณฑิต
Degree Level: ปริญญาโท
Degree Discipline: นิติศาสตร์
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/69005
ISBN: 9743321829
Type: Thesis
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Somphop_ta_front_p.pdf1.09 MBAdobe PDFView/Open
Somphop_ta_ch0_p.pdf814.33 kBAdobe PDFView/Open
Somphop_ta_ch1_p.pdf942.87 kBAdobe PDFView/Open
Somphop_ta_ch2_p.pdf2.19 MBAdobe PDFView/Open
Somphop_ta_ch3_p.pdf1.58 MBAdobe PDFView/Open
Somphop_ta_ch4_p.pdf2.06 MBAdobe PDFView/Open
Somphop_ta_ch5_p.pdf1.37 MBAdobe PDFView/Open
Somphop_ta_ch6_p.pdf724.49 kBAdobe PDFView/Open
Somphop_ta_back_p.pdf693.4 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.