Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/69223
Title: Design of process layout for deflection yoke process : a case study of a cathode ray tube indusry
Other Titles: การออกแบบสายการผลิตในกระบวนการผลิตชิ้นส่วน ขดลวดเบี้ยงเบนลำอิเล็กตรอน : กรณีศึกษาของโรงงานผลิตหลอดภาพโทรทัศน์
Authors: Sasithorn Siripanich
Advisors: Prasert Akkharaprathomphong
Other author: Chulalongkorn University. Faculty of Engineering
Advisor's Email: Prasert.A@Chula.ac.th
Subjects: Deflection Yoke
Bottleneck -- Problems
cathode ray tube
ดีเฟลคชันโยค
หลอดภาพ
หลอดภาพโทรทัศน์
Issue Date: 2001
Publisher: Chulalongkorn University
Abstract: This thesis study relates to analysis of existing Deflection Yoke assembly line so as to reduce bottleneck problems and design new process layouts in order to be the alternatives for the company to make decision for implementation in the future. To overcome the bottleneck problems, many subjects such as product description, process system, and market product demand are analyzed the possibility to improve line efficiency and productivity of the assembly line in details. The study starts from analysis of operation improvement, especially bottleneck operation. After the operations are improved, standard operation and time are set, new workstations are designed based on the required capacity by using assembly line balacing technique, and manpower is appropriately allocated into the new system. To design new process layout, the proposed alyouts are designed in order reduce materials handling, increase effective space utilization, and improve quality of the product. In this thesis, three proposed layouts are designed and evaluated their effectiveness by using both quantitative and qualitative approaches in order to compare the advantage and disadvantage of each proposed layout. The evaluation will help the company to make decision for implementation the propoer layout to suit to specific situation in the future. After implementing the operation improvement, the supply method of inspection (bottleneck) operation is changed which results in 10% reduction of its standard time. The equipment in subassembly operation is relocated which results in 19% its productivity improvement. In implementing the new assembly line balacing, the bottleneck problems are eliminate which results in average 12% line efficiency improvement and 15.5% productivity improvement in the assembly line.
Other Abstract: วิทยานิพนธ์ฉบับนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา ปรับปรุงแก้ไข ปัญหาสภาพคอขวดในกระบวนการประกอบขดลวดเบี่ยงเบนลำอิเล็คตรอน และออกแบบสายการผลิตใหม่ เพื่อเสนอเป็นทางเลือกให้กับบริษัทประกอบการตัดสินใจในการติดตั้งระบบใหม่ในอนาคต ในการแก้ไขปัญหาสภาพคอขวดนั้น ระบบและข้อมูลการผลิตปัจจุบัน รวมทั้งปริมาณความต้องการของผลิตภัณฑ์ ได้ถูกศึกษาและวิเคราะห์ความเป็นไปได้ในการปรับปรุงระบบการผลิตเพื่อเพิ่มผลผลิตและประสิทธิภาพของสายการผลิตโดยละเอียด เริ่มต้นจากการ วิเคราะห์และปรับปรุงวิธีการทำงานเบื้องต้น โดยให้ความสำคัญในการปรับปรุงและกำจัดขั้นตอนการทำงานที่เป็นคอขวดของสายการผลิต หลังจากนั้นจึงทำการสร้างมาตรฐานในการทำงานกำหนดเวลามาตรฐาน และออกแบบสถานีงานใหม่เพื่อตอบสนองความต้องการทั้งในปัจจุบันและอนาคตโดยใช้หลักการสมดุลสายการผลิต รวมทั้งทำการกำหนดทรัพยากรที่เหมาะสมลงในสายการประกอบผลิตภัณฑ์ ในส่วนของการออกแบบสายการผลิต แผนผังการผลิตใหม่ได้ถูกออกเพื่อปรับปรุงประสิทธิผลของการไหลและขนถ่ายลำเลียง การใช้ประโยชน์จากเนื้อที่ คุณภาพของผลิตภัณฑ์ และความง่ายต่อการขยายในวิทยานิพนธ์นี้สามแผนผังการผลิตได้ถูกออกแบบและประเมินผลทั้งในเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ เพื่อเปรียบเทียบจุดเด่นและจุดด้อยของแต่ละแผนผังการผลิต เป็นผลทำให้บริษัทนำไปใช้ประกอลการตัดสินใจเพื่อเลือกแผนผังการผลิตที่เหมาะสมภายใต้สถานการณ์ต่าง ๆ ในอนาคต จากการปรับปรุงวิธีการทำงานเบื้องต้น โดยทำการเปลี่ยนแปลงแผนผังการจัดวางเครื่องมือของกระบวนการ Subassembly และเปลี่ยนวิธีการจัดส่งลำเลี้ยงผลิตภัณฑ์ไปยังขึ้นตอนการตรวจสอบผลิตภัณฑ์ เป็นผลทำให้สามารถเพิ่มผลผลิตในกระบวนการ Subassembly ขึ้นได้ 19% และสามารถลดเวลาในการตรวจสอบผลิตภัณฑ์ซึ่งเป็นขั้นตอนที่เกิดสภาพคอขวด ลงได้ประมาณ 10% และจากการประยุกต์ใช้ระบบที่มีการจัดสมดุลการประกอบผลิตภัณฑ์ใหม่ เป็นผลทำให้ปัญหาสภาพคอขวดของกระบวนการถูกกำจัด ส่งผลให้ประสิทธิภาพของสายการประกอบเพิ่มขึ้นโดยเฉลี่ยประมาณ 12% และผลผลิตของสายการประกอบเพิ่มขึ้นประมาณ 15.5%
Description: Thesis (M.Eng.)--Chulalongkorn University, 2001
Degree Name: Master of Engineering
Degree Level: Master's Degree
Degree Discipline: Engineering Management
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/69223
ISBN: 9740312098
Type: Thesis
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Sasithorn_si_front_p.pdfหน้าปก บทคัดย่อ และสารบัญ937.93 kBAdobe PDFView/Open
Sasithorn_si_ch1_p.pdfบทที่ 1733.13 kBAdobe PDFView/Open
Sasithorn_si_ch2_p.pdfบทที่ 21.06 MBAdobe PDFView/Open
Sasithorn_si_ch3_p.pdfบทที่ 31.67 MBAdobe PDFView/Open
Sasithorn_si_ch4_p.pdfบทที่ 41.69 MBAdobe PDFView/Open
Sasithorn_si_ch5_p.pdfบทที่ 5876.7 kBAdobe PDFView/Open
Sasithorn_si_ch6_p.pdfบทที่ 6727.15 kBAdobe PDFView/Open
Sasithorn_si_back_p.pdfบรรณานุกรม และภาคผนวก4.3 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.