Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/70101
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | อุ่นเรือน เล็กน้อย | - |
dc.contributor.advisor | วริพัสย์ เจียมปัญญารัช | - |
dc.contributor.author | เบญญาภา อิตุพร | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย | - |
dc.date.accessioned | 2020-11-11T13:41:36Z | - |
dc.date.available | 2020-11-11T13:41:36Z | - |
dc.date.issued | 2562 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/70101 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ศศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2562 | - |
dc.description.abstract | การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินความยั่งยืนทางสังคมของเกษตรกรผู้เลี้ยงไก่เนื้อในพื้นที่จังหวัดสุพรรณบุรี โดยประยุกต์ใช้กรอบการประเมินความยั่งยืนของระบบอาหารและการเกษตร (Sustainability Assessment of Food and Agriculture Systems, SAFA) ที่พัฒนาขึ้นโดยองค์การอาหารและการเกษตรแห่งสหประชาชาติ (FAO) ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง คือ เกษตรกรที่เลี้ยงไก่เนื้อพันธุ์ขนาดเล็ก ในระบบเกษตรพันธสัญญา จังหวัดสุพรรณบุรี จำนวน 63 ราย (คิดเป็นร้อยละ 100 ของจำนวนประชากรทั้งหมด) เครื่องมือการวิจัยได้แก่ แนวคำถามและแบบสอบถามตามกรอบการทำงานโมเดล SAFA ทั้ง 6 มิติ ได้แก่ (1) การมีคุณภาพชีวิตที่ดี (2) การค้าที่เป็นธรรม (3) สิทธิแรงงาน (4) ความเท่าเทียม (5) สุขภาพและความปลอดภัยของมนุษย์ และ (6) ความหลากหลายทางวัฒนธรรม ทั้งนี้การวิเคราะห์ข้อมูลใช้ตามกรอบการโมเดล SAFA ผลการศึกษาพบว่า เกษตรกรผู้เลี้ยงไก่เนื้อขนาดเล็กในระบบเกษตรแบบพันธสัญญาของจังหวัดสุพรรณบุรี มี (1) การมีคุณภาพชีวิตที่ดีมีความยั่งยืนในระดับดีมาก (2) การค้าที่เป็นธรรมมีความยั่งยืนในระดับดี (3) สิทธิแรงงาน และ (4) ความเท่าเทียม ไม่สามารถประเมินความยั่งยืน (5) สุขภาพและความปลอดภัยของมนุษย์มีความยั่งยืนในระดับดีมาก ตลอดจน (6) ความหลากหลายทางวัฒนธรรมมีความยั่งยืนในระดับน้อยมาก | - |
dc.description.abstractalternative | The research aims to assess Sustainability of Food and Agriculture Systems (SAFA) developed by Food and Agriculture Organization of the United Nations (FAO). The population and samples include 63 of small chicken farmers under contract farming system in Suphanburi province which accounts for 100% of the whole population. The research tools include questions and questionnaires created according to SAFA model comprising of 6 dimensions: (1) Decent Livelihood, (2) Fair Trading Practices, (3) Labour Rights, (4) Equity, (5) Human Safety & Health, and (6) Cultural Diversity. SAFA model is also utilized in data analysis. According to the result from 63 farmers, the participants are reported to have very much more (1) Decent Livelihood. (2) Fair Trading Practices is also well sustained. (3) Labour Rights and (4) Equity cannot be used to assess sustainability. (5) Human Safety & Health are well sustained an excellent level. However, (6) Cultural Diversity is found to be sustained at a low level. | - |
dc.language.iso | th | - |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | - |
dc.relation.uri | http://doi.org/10.58837/CHULA.THE.2019.1031 | - |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | - |
dc.title | การประยุกต์ใช้กรอบการทำงาน SAFA ในการประเมินความยั่งยืนทางสังคมของฟาร์มไก่เนื้อในระบบเกษตรพันธสัญญา จังหวัดสุพรรณบุรี | - |
dc.title.alternative | Application of SAFA framework for assessing social sustainability of contract broiler farming in Suphanburi Province | - |
dc.type | Thesis | - |
dc.degree.name | ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต | - |
dc.degree.level | ปริญญาโท | - |
dc.degree.discipline | พัฒนามนุษย์และสังคม | - |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | - |
dc.identifier.DOI | 10.58837/CHULA.THE.2019.1031 | - |
Appears in Collections: | Grad - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
6087277620.pdf | 2.59 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.