Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/70360
Title: Techno-economic feasibility analysis of hydrogen recovery in bio-hydrogenated diesel from palm oil for methanol synthesis via aspen plus
Other Titles: การวิเคราะห์ความเป็นไปได้ในทางด้านเทคนิคและทางด้านเศรษฐศาสตร์ในการนำกลับของไฮโดรเจนในกระบวนการผลิตน้ำมันดีเซลชีวภาพจากน้ำมันปาล์มเพื่อการสังเคราะห์เมทานอล ผ่านโปรแกรมแอสเพน พลัส
Authors: Nitipat Phichitsurathaworn
Advisors: Suttichai Assabumrungrat
Lida Simasatitkul
Other author: Chulalongkorn University. Faculty of Engineering
Advisor's Email: Suttichai.A@Chula.ac.th
Lida.S@Sci.kmutnb.ac.th
Subjects: Biodiesel fuels
Methanol
เชื้อเพลิงไบโอดีเซล
เมทานอล
Issue Date: 2019
Publisher: Chulalongkorn University
Abstract: A bio-hydrogenated diesel (BHD) or green diesel can be produced from refined palm oil obtained from palm oil refinery. A simulation model of BHD production process from palm oil is developed by Aspen Plus. The conventional process which is the heterogeneous catalytic hydro-deoxygenation reaction of triglycerides required high H2/oil volumetric ratio. To reduce high hydrogen loss in gaseous by-product, the design of hydrogen gas recovery process of the BHD process by coupling with methanol synthesis is proposed. The two processes (i.e., conventional BHD process and BHD process coupled with methanol synthesis) are compared in terms of hydrogen recovery and economic indicators. The second process can recover 46.3 percent of discharged hydrogen and reduces 14 percent of carbon dioxide and carbon monoxide emission. Furthermore, it provides high rate of return of 39.65 percent, payback period of 1.68 years, and net present value of 65.57 million US dollars.
Other Abstract: น้ำมันดีเซลชีวภาพหรือกรีนดีเซลสามารถผลิตได้จากน้ำมันปาล์มที่ผ่านกระบวนผลิตโดยใช้ปฏิกิริยาเคมี การจำลองกระบวนการผลิตน้ำมันดีเซลชีวภาพสามารถทำได้ผ่านโปรแกรม Aspen Plus โดยในปัจจุบันมีการผลิตผ่านปฏิกิริยาไฮโดรดีออกซีจิเนชัน โดยใช้ตัวเร่งปฏิกิริยาวิวิธพันธุ์ และจำเป็นต้องใช้อัตราส่วนโดยปริมาตรระหว่างแก๊สไฮโดรเจนต่อน้ำมันปาล์มที่สูง จึงทำให้ต้องปล่อยแก๊สไฮโดรเจนทิ้งในปริมาณที่มากก่อนที่จะนำกลับมาทำปฏิกิริยาใหม่ กระบวนการผลิตน้ำมันดีเซลชีวภาพควบคู่กับการผลิตเมทานอลถูกออกแบบเพื่อที่จะลดปริมาณการปลดปล่อยแก๊สไฮโดรเจน โดยนำแก๊สไฮโดรเจนที่หลงเหลืออยู่ทำปฏิกิริยากับแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ที่เป็นสารตั้งต้นหลัก ความเป็นไปได้ในทางเทคนิคและเศรฐศาสตร์จะใช้เป็นตัวชี้วัดในการพิจารณา พบว่า ในด้านเทคนิค กระบวนการผลิตน้ำมันดีเซลชีวภาพควบคู่กับการผลิตเมทานอลสามารถลดการปลดปล่อยแก๊สไฮโดรเจนได้ถึง 46.3 เปอร์เซ็นต์ และลดการปลดปล่อยแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ และแก๊สคาร์บอนมอนอกไซด์ 14 เปอร์เซ็นต์ ส่วนด้านเศรษฐศาสตร์ กระบวนการผลิตน้ำมันดีเซลชีวภาพควบคู่กับการผลิตเมทานอลมีอัตราผลตอบแทนได้ถึง 39.65 เปอร์เซ็นต์ รวมถึงใช้เวลาในการคืนทุนเพียง 1.68 ปี และมีมูลค่าหลังดำเนินการถึง 65.57 ล้านดอลลาร์สหรัฐ
Description: Thesis (M.Eng.)--Chulalongkorn University, 2019
Degree Name: Master of Engineering
Degree Level: Master's Degree
Degree Discipline: Chemical Engineering
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/70360
URI: http://doi.org/10.58837/CHULA.THE.2019.70
metadata.dc.identifier.DOI: 10.58837/CHULA.THE.2019.70
Type: Thesis
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
6170937321.pdf3.51 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.