Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/71208
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorChitr Sitthi-Amorn-
dc.contributor.advisorJariya Lertakyamanee-
dc.contributor.authorApichart Ploysangwal-
dc.contributor.otherChulalongkorn University. Graduate School-
dc.date.accessioned2020-12-03T03:48:23Z-
dc.date.available2020-12-03T03:48:23Z-
dc.date.issued1998-
dc.identifier.isbn9746394878-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/71208-
dc.descriptionThesis (M.Sc.)--Chulalongkorn University, 1998en_US
dc.description.abstractThe objective of this study are: 1. to compare the duration from culture to successful skin graft between burn patients whose treatment are guided by surface swab culture plus burn wound biopsy culture and patients whose treatment are guided by burn wound biopsy culture alone 2. to evaluate the accuracy of surface swab culture in the diagnosis of burn wound infection. Twenty nine patients with 20-70% burn randomly assigned to treatment group (surface swab culture plus burn wound biopsy culture) and control group (burn wound biopsy culture alone) when there were signs of burn wound infection . The general characteristis in control and treatment groups are not different [age:31.87 (25.07-38.67) and 30.93 (22.71-39.15), time before admission : 1.2 (0.671.73) and 2.11 (0.91-3.31), percentage of burn area:36.47 (28.37-44.53) and 34.50 (28.51-40.49)]. The mean duration from culture to successful skin graft are 21.47+/- 12.08 in control group and 13.78+/-5.70 in treatment group (p-value 0.040). For surface swab culture, the sensitivity was 80% and specificity was 85.71% The surface swab culture combined with burn wound biopsy culture can improve the duration from culture to successful skin graft when compared with burn wound biopsy culture alone. The surface swab culture can produce the acceptable sensitivity and specificity in diagnosis of burn wound infection too.-
dc.description.abstractalternativeวัตถุประสงค์ของการศึกษานี้คือ . 1. เปรียบเทียบระยะเวลาที่ใช้ในการปะผิวหนังเป็นผลสำเร็จ ระหว่างผู้ป่วยไฟไหม้น้าร้อนลวก ซึ่งการรักษาได้รับการชี้นำโดยผลการเพาะเชื้อที่ผิวของนผลร่วมกับการเพาะเชื้อโดยการตัดเนื้อเยื่อจากแผลและผู้ป่วยซึ่งการรักษาได้รับการชี้นำโดยการตัดเนื้อเยื่อจากแผลเพียงอย่างเดียว 2. ประเมินความถูกต้องของการเพาะเชื้อที่ผิวของแผลในการวินิจฉัยการติดเชื้อของแผลไฟไหม้น้ำร้อนลวก ผู้ป่วยไฟไหม้น้าร้อนลวก 20-70 จานวน 29 คน แบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม โดยการสุ่มเมื่อมีอาการแสดงของการติดเชื้อที่บาดแผล โดยกลุ่มศึกษาได้รับการเพาะเชื้อที่ผิวหนังของแผล ร่วมกับการเพาะเชื้อ โดยกลุ่มศึกษาได้รับการเพาะเชื้อที่ผิวหนังของแผล ร่วมกับการเพาะเชื้อ โดยการตัดเนื้อเยื่อจากแผล และกลุ่มควบคุมได้รับการเพาะเชื้อโดยการตัดเนื้อเยื้อจากแผลเพียงอย่างเดียว ลักษณะโดยทั่วไปของทั้งกลุ่มควบคุมและกลุ่มศึกษาไม่มีความแตกต่างกัน [อายุ: 31 -87( 25.07- 38.67) และ 30.93(22.71-39.15), เวลาก่อนมาถึงโรงพยาบกล =1.2(0.67-1.73) และ2.11 (0.91-3.31), เปอร์เซ็นต์ของไฟไหม้น้ำร้อนลวก : 36.47(28.37-44.53)และ34.50(28.51- 40.49) ] ค่าเฉลี่ยระยะเวลาที่ใช้ในการปะผิวหนังเป็นผลสำเร็จคือ 21.47+ /-12.08 ในกลุ่มควบคุมและ 13.78+/-5.70 ในกลุ่มศึกษา (ค่า p คือ 0.040) สำหรับการเพาะเชื้อที่ผิวของแผลมีค่าความไว 80 % และความจำเพาะ 85.71% การเพาะเชื้อที่ผิวของแผลร่วมกับการเพาะเชื้อโดยการตัดเนื้อเยื่อจากแผลสามารถทำให้ระยะเวลาที่ใช้ในการปะผิวหนังในผู้ป่วยไฟไหม้น้ำร้อนลวกเป็นผลสำเร็จขึ้น เมื่อเปรียบเทียบกับการเพาะเชื้อ โดยการตัดเนื้อเยื่อจากแผล เพียงอย่างเดียวและการเพาะเชื้อที่ผิวของแผลมีความไวและความจำเพาะ เป็นที่ยอมรับได้ในการวินิจฉัยการติดเชื้อของแผลไฟไหม้น้ำร้อนลวก-
dc.language.isoenen_US
dc.publisherChulalongkorn Universityen_US
dc.rightsChulalongkorn Universityen_US
dc.subjectBurns and scaldsen_US
dc.subjectBurns and scalds -- Treatmenten_US
dc.subjectTissuesen_US
dc.subjectClinical trialsen_US
dc.subjectแผลไหม้en_US
dc.subjectแผลไหม้ -- การรักษาen_US
dc.subjectเนื้อเยื่อen_US
dc.subjectการทดลองทางคลินิกen_US
dc.titleThe effect of surface swab culture plus burn wound biopsy culture on duration from culture to successful skin graft compared with burn wound biopsy culture alone : a randomized clinical trialen_US
dc.title.alternativeผลของการเพาะเชื้อที่ผิวหนังของแผลร่วมกับการเพาะเชื้อโดยการตัดเนื้อเยื่อจากแผลต่อระยะเวลาที่ใช้ในการปะผิวหนังในผู้ป่วยไฟไหม้น้ำร้อนลวกเป็นผลสำเร็จ : เปรียบเทียบกับการใช้การเพาะเชื้อโดยการตัดเนื้อเยื่อจากแผลเพียงอย่างเดียวen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameMaster of Scienceen_US
dc.degree.levelMaster's Degreeen_US
dc.degree.disciplineHealth Developmenten_US
dc.degree.grantorChulalongkorn Universityen_US
dc.email.advisorChitr.S@Chula.ac.th-
dc.email.advisorNo information provided-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Apichart_pl_front_p.pdfหน้าปก และบทคัดย่อ1.02 MBAdobe PDFView/Open
Apichart_pl_ch1_p.pdfบทที่ 1706.93 kBAdobe PDFView/Open
Apichart_pl_ch2_p.pdfบทที่ 2635.11 kBAdobe PDFView/Open
Apichart_pl_ch3_p.pdfบทที่ 3685.7 kBAdobe PDFView/Open
Apichart_pl_ch4_p.pdfบทที่ 4641.88 kBAdobe PDFView/Open
Apichart_pl_ch5_p.pdfบทที่ 5593.65 kBAdobe PDFView/Open
Apichart_pl_ch6_p.pdfบทที่ 6595.17 kBAdobe PDFView/Open
Apichart_pl_ch7_p.pdfบทที่ 7758.44 kBAdobe PDFView/Open
Apichart_pl_ch8_p.pdfบทที่ 8655.38 kBAdobe PDFView/Open
Apichart_pl_back_p.pdfบรรณานุกรม และภาคผนวก829.83 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.