Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/71666
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorดิเรก ศรีสุโข-
dc.contributor.authorสิริรัตน์ คุณจักร-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2020-12-21T15:36:58Z-
dc.date.available2020-12-21T15:36:58Z-
dc.date.issued2539-
dc.identifier.isbn9746348299-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/71666-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2539-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์หาตัวแปรจำแนกความสำเร็จในการทำวิทยานิพนธ์ระหว่างนิสิตระดับมหาบัณฑิต สาขาสังคมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ที่สำเร็จการศึกษาภายใน 4 ภาคการศึกษา และ 5-6 ภาคการศึกษา กลุ่มตัวอย่างเป็นนิสิตระดับมหาบัณฑิต สาขาสังคมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ที่เข้าศึกษาในปีการศึกษา 2535 แบ่งเป็น 2 กลุ่ม คือกลุ่มนิสิตที่สำเร็จการศึกษา ภายใน 4 ภาคการศึกษา จำนวน 163 คน และกลุ่มนิสิตที่สำเร็จการศึกษาภายใน 5-6 ภาคการศึกษา จำนวน 94 คน เก็บรวบรวมข้อมูลโดยแบบสอบถามทางไปรษณีย์และการสัมภาษณ์ วิเคราะห์ข้อมูลโดย คำนวณหา ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าสถิติทดสอบสัดส่วน z-test และค่าสถิติในการวิเคราะห์จำแนกประเภทผลการวิจัยสรุปได้ว่า ปัจจัยที่สามารถจำแนกการทำวิทยานิพนธ์สำเร็จระหว่างนิสิตที่สำเร็จการศึกษาภายใน 4 ภาคการศึกษา และ 5-6 ภาคการศึกษาประกอบด้วยปัจจัยสำคัญ 2 ปัจจัย คือ ปัจจัยเกี่ยวกับตัวนิสิตที่ทำวิทยานิพนธ์ และปัจจัยที่สนับสนุนการทำวิทยานิพนธ์ ดังนี้คือ ปัจจัยเที่ยวกับตัวนิสิตที่ทำวิทยานิพนธ์ ได้แก่ (1) การลามาศึกษาต่อจนทำวิทยานิพนธ์สำเร็จหรือกลับโปทำงานควบคู่กับการทำวิทยานิพนธ์ (2) ความรู้ความสามารถของนิสิตในด้านต่าง ๆ โดยเฉพาะความสามารถในการอ่านและ เขียนภาษาไทยและภาษาอังกฤษ และความสามารถในการเลือกเทคนิคการวิเคราะห์ทางสถิติ (3) ลักษณะนิสัยส่วนบุคคล และ (4) อายุ ส่วนปัจจัยที่ช่วยสนับสนุนการทำวิทยานิพนธ์ ได้แก่ (1) เวลาในการให้คำปรึกษาและการให้กำลังใจจากอาจารย์ที่ปรึกษา (2) ความต่อเนื่องในการทำวิทยานิพนธ์และการบริหารเวลา (3) งบประมาณในการทำวิทยานิพนธ์ (4) ผู้ช่วยในการทำวิทยานิพนธ์ขั้นตอนการค้นคว้าเอกสารและงานวิจัยที่เที่ยวข้อง การเก็บรวบรวมข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูล การตรวจคำผิดและการพิมพ์วิทยานิพนธ์ (5) แหล่งข้อมูล (6) ความร่วมมือของกลุ่มตัวอย่าง (7) การใช้เวลาในการตรวจสอบ เครื่องมือวิจัยของผู้ทรงคุณวุฒิ และ (8) ความถูกต้องรวดเร็วและตรงต่อเวลาของผู้พิมพ์วิทยานิพนธ์-
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this research was to determine variables which would be able to discriminate the success in conducting thesis between Social Sciences graduate students of Chulalongkorn University completing the program within 4 semesters and 5-6 semesters. The sample were students who enrolled in 1992. There were 163 students completing the program within 4 semesters. The rest of 94 students completing the program within 5-6 semesters. Data were collected by mailed questionnaire and interview and were analyzed by using percentage, mean, standard deviation, z-test of proportion, and discriminant analysis. The major findings of this research were as follows : there were two main factors discriminating the success in conducting thesis. The factors related to themselves were : (1) full-time conducting thesis versus part-time, (2) student's Thai and English language ability and ability in choosing statistical analysis methods, (3) personal character, and (4) age. The factors related to the process in conducting thesis were : (1) thesis advisor's time for advice and the motivation given to student to do research, (2) time management and continuality in conducting thesis, (3) availability of budgets in conducting thesis, (4) the assistance searching research document and related literature, data collection, data analysis, correcting the research report, (5) availability of library resources in conducting thesis, (6) cooperation from the subjects, (7) the expert's time spending to comment in validity of instrument, and (8) the punctuation of thesis typist.-
dc.language.isoth-
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.subjectจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย -- นักศึกษามหาบัณฑิต-
dc.subjectลสัมฤทธิ์ทางการเรียน-
dc.subjectวิทยานิพนธ์-
dc.subjectความสำเร็จ-
dc.subjectนักศึกษาบัณฑิต-
dc.titleการวิเคราะห์ตัวแปรจำแนกความสำเร็จในการทำวิทยานิพนธ์ ระหว่างนิสิตระดับมหาบัณฑิต สาขาสังคมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ที่สำเร็จการศึกษาภายในสองปีการศึกษา และมากกว่าสองปีการศึกษา-
dc.title.alternativeAnalysis of variables discriminating the success in conducting thesis between social sciences graduate students of Chulalongkorn University completing the program within two years and more than two years-
dc.typeThesis-
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิต-
dc.degree.levelปริญญาโท-
dc.degree.disciplineวิจัยการศึกษา-
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Sirirat_ku_front_p.pdf1.03 MBAdobe PDFView/Open
Sirirat_ku_ch1_p.pdf1.29 MBAdobe PDFView/Open
Sirirat_ku_ch2_p.pdf2.08 MBAdobe PDFView/Open
Sirirat_ku_ch3_p.pdf1.3 MBAdobe PDFView/Open
Sirirat_ku_ch4_p.pdf2.94 MBAdobe PDFView/Open
Sirirat_ku_ch5_p.pdf3.01 MBAdobe PDFView/Open
Sirirat_ku_back_p.pdf3 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.