Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/7192
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorศิรางค์ ทับสายทอง-
dc.contributor.authorวราวุธ หิรัญยศิริ-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะจิตวิทยา-
dc.date.accessioned2008-06-04T06:51:20Z-
dc.date.available2008-06-04T06:51:20Z-
dc.date.issued2548-
dc.identifier.isbn9741422296-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/7192-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2548en
dc.description.abstractเปรียบเทียบอัตมโนทัศน์ของเยาวชนที่กระทำความผิดในสถานพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชน และในโรงเรียนมัธยมศึกษา อายุระหว่าง 15-18 ปี กลุ่มตัวอย่างมีจำนวนทั้งสิ้น 82 คน โดยแบ่งออกเป็น 2 กลุ่มคือ เยาวชนชายที่กระทำความผิดในสถานพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชน จากสถานฝึกและอบรมบ้านกรุณา จำนวน 41 คน และเยาวชนชายที่กระทำความผิดในโรงเรียนมัธยมศึกษา (จากโรงเรียนสันติราษฎร์วิทยาลัย โรงเรียนพิบูลประชาสรรค์ และโรงเรียนไทยวิจิตรศิลป) ที่ฝ่าฝืนกฎระเบียบหรือมีพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสมตามบันทึกของโรงเรียน จำนวน 41 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือ แบบสอบถามข้อมูลทั่วไปส่วนบุคคล และแบบทดสอบอัตมโนทัศน์ของ Bruce A. Bracken (1992) แล้วนำข้อมูลมาวิเคราะห์ทางสถิติโดยใช้การทดสอบค่า t-test ผลการวิจัยพบว่า กลุ่มเยาวชนที่กระทำความผิดในสถานพินิจฯ มีอัตมโนทัศน์ด้านต่างๆ อันประกอบด้วย อัตมโนทัศน์โดยรวม (p<.01) และอัตมโนทัศน์ย่อยทั้ง 6 ด้านคือ อัตมโนทัศน์ด้านสังคม (p<.05) อัตมโนทัศน์ด้านอารมณ์และความรู้สึก (p<.01) อัตมโนทัศน์ด้านความสามารถ (p<=.001) อัตมโนทัศน์ด้านวิชาการ (p<.01) อัตมโนทัศน์ด้านครอบครัว (p<.01) และอัตมโนทัศน์ด้านกายภาพ (p<.01) ต่ำกว่ากลุ่มเยาวชนที่กระทำความผิดในโรงเรียนมัธยมศึกษา อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติen
dc.description.abstractalternativeTo compare self concept of male juvenile delinquents in detention homes and in secondary schools aged 15-18. Samples were 82 male juvenile delinquents which were divided into 2 groups (1) 41 male juvenile delinquents in detention homes, called Bann Karuna. (2) 41 male juvenile delinquents in secondary schools (from Santirajwittaya School, Pibulprachasan school and Thaivijitsilp School) who broke rules or misbehaved according to school records. Research instruments were the personal data questionnaires and the multidimensional self concept scale, developed by Bruce A. Brachken (1992). The data were analyzed t-test technique. The self indicates that male juvenile delinquents in detention home have significantly lower self concept than the ones in secondary schools in all adpects : Global (p<.01), Social (p<.05), competence (p<=.001), affect (p<.01), academi (p<.01), family (p<.01), and physical (p<.01) self concept.en
dc.format.extent2330996 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2005.405-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectการรับรู้ตนเองen
dc.subjectเยาวชนผู้กระทำความผิดอาญาen
dc.subjectเยาวชนชายผู้กระทำความผิดอาญาen
dc.titleการเปรียบเทียบอัตมโนทัศน์ของเยาวชนชายที่กระทำความผิด ในสถานพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชนและในโรงเรียนมัธยมศึกษาen
dc.title.alternativeA comparison of self concept of male juvenile delinquents in detention homes and in secondary schoolsen
dc.typeThesises
dc.degree.nameศิลปศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineจิตวิทยาพัฒนาการes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorPsy@chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2005.405-
Appears in Collections:Psy - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
varavut.pdf2.28 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.