Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/72432
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุรพงศ์ นวังคสัตถุศาสน์-
dc.contributor.advisorอมร เพชรสม-
dc.contributor.advisorไพเราะ ปิ่นพานิชการ-
dc.contributor.authorกาญจนา รักวรา-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2021-02-25T06:51:52Z-
dc.date.available2021-02-25T06:51:52Z-
dc.date.issued2542-
dc.identifier.isbn9743347666-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/72432-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2542en_US
dc.description.abstractงานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อหาภาวะที่เหมาะสมในการสกัดแยกบีตา-แคโรทีนออกจากน้ำมันปาล์มดิบโดยมุ่งพิจารณาวิธีการที่คาดว่าก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงกระบวนการผลิตน้ำมันปาล์มเพื่อบริโภคในโรงงานอุตสาหกรรมน้อยที่สุด โดยทำการดูดซับสารแคโรทีนนอยด์ในน้ำมันปาล์มดิบด้วยผงถ่านกัมมันต์ชนิดละเอียดที่ผ่านการบำบัดด้วย 0.5% บิวทิลไฮดรอกซีโทลูอีนในภาวะที่เป็นต่าง ในอัตราส่วน 1:4 โดยน้ำหนักของผงถ่านกัมมันต์ต่อน้ำมันปาล์ม ทำการดูดซับที่อุณหภูมิ 80 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 30 นาที จากนั้นชะสารแคโรทีนนอยด์ออกจากผงถ่านกัมมันต์ด้วยโทลูอีนที่มีการเติม 2% tween 80ที่อุณหภูมิ 25 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 30 นาที ผลการวิเคราะห์ปริมาณแคโรทีนนอยด์โดยเทคนิคยูวี-วิสิเบิลสเปกโตรโฟโตเมดรี และวิเคราะห์ปริมาณบีตา- แคโรทีนโดยเทคนิค HPLC พบว่า สารสกัดแคโรทีนน้อยด์ที่ได้มีปริมาณแคโรทีนอยด์ 3,807 ppm และปริมาณบีตา-แคโรทีน 1,671 ppm ซึ่งคิดเป็นความเข้มข้นที่เพิ่มขึ้นจากเดิม 6 เท่า และ 4 เท่า ตามลำดับ และจากการวิเคราะห์ปริมาณโทลูอีนตกค้างโดยเทคนิค HPLC พบว่า มีปริมาณโทลูอีนตกค้างสูงถึง 1,4648x10⁵ppm จึงต้องหาวิธีการที่เหมาะสมในการกำจัดโทลูอีนออกให้หมด โดยศึกษาวิธีกำจัดโทลูอีนตกค้างออกจากสารสกัดแคโรทีนนอยด์ 4 วิธีได้แก่ การทำปฏิกิริยาชาพอนนิฟิเคชั่น การกลั่นไอน้ำ การกลั่นด้วยน้ำ และการเติมน้ำลงไปในสารสกัดแคโรทีนอยด์ในอัตราส่วนสารสกัดแคโรทีนอยด์ต่อน้ำเท่ากับ 1:4 โดนน้ำหนักต่อปริมาตรแล้วนำไประเหยด้วยเครื่องระเหยสูญญากาศแบบหมุน รวมทั้งยังศึกษาการสกัดสารแคโรทีนอยด์ออกจากผงถ่านกัมมันต์ด้วยคาร์บอนไดออกไซด์หนือจุดวิกฤติเพื่อหลีกเลี่ยงการชะด้วยโทลูอีน ผลการทดลองพบว่า วิธีการที่เหมาะสมที่สุดในการกำจัดโทลูอีนตกค้างออกจากสารสกัดแคโรทีนอยด์ คือ วิธีการเติมน้ำลงไปในสารสกัดแคโรทีนอยด์ในอัตราส่วนสารสกัดแคโรทีนนอยด์ต่อน้ำเท่ากับ 1:4 โดยน้ำหนักต่อปริมาตร แล้วนำไประเหยด้วยเครื่องระเหยสูญญากาศแบบหมุนที่อุณหภูมิ 60 องศาเซลเซียส ซึ่งภายหลักการระเหยพบว่า มีแคโรทีนอยด์หลืออยู่ 4,157 ppm คิดเป็นผลผลิตกลับคืน 93% และตรวจไม่พบโทลูอีนตกค้างen_US
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this study was to find a suitable extracting condition for β-carotene from palm oil with; emphasis for minimal changes in existing process of edible palm oil production plant. Carotenoids in crude palm oil were adsorbed on activated carbon pretreated with 0.5% butyl hydroxyl toluene as an adsorbent at the ratio of activated carbon to palm oil of 1:4 (w/w) at 80 degree Celsius for 30 minutes.l Elution of the adsorbed carotenoids from activated carbon was done by using toluene containing 2% tween 80 (v/v) at 25 degree Celsius for 30 minutes. The concentration of carotenoids and β-carotene in the extract analyzed by spectrophotometry and HPLC, were 3,807 ppm and 1,671 ppm corresponding to 6 and 4 times higher than that of the criginal, respectively. The remaining toluene in the concentrated carotenoid extract analyzed by HPLC was 1,4648x10⁵ ppm. Hence, the suitable method to remove the remaining toluene from concentraled carotenoid was sought. Four methods for the removal of toluene in the concentrated carotenoid extract were studied, these were saponification, steam distillation, water distillation and rotary vacuum evaporation of the extract containing four folds weight by volume of added water. Furthermore, to eliminate toluene elution step, extraction of carotenoid adsorbed on activated carbon using supercritical carbon dioxide was also studied. It was found that the most suitable method to remove toluene from the extract was vy rotary cacuum evaporation at 60 degree Celsius of the etract containing four folds weight by volume of added water. This method showed carotenoid recovery of 93% the concentrated darotenoid contained 4,157 ppm of carotenoids and no toluene was detected.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectน้ำมันปาล์มen_US
dc.subjectโทลูอีนen_US
dc.subjectPalm oilen_US
dc.subjectCarotenoiden_US
dc.subjectTolueneen_US
dc.titleการสกัดแยกบีตา-แคโรทีนจากน้ำมันปาล์มเพื่อให้ได้ผลิตภัณฑ์ที่ปลอดโทลูอีนen_US
dc.title.alternativeB-Carotene extraction process from palm oil for toluene free producten_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineเทคโนโลยีชีวภาพen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorSurapong.N@Chula.ac.th-
dc.email.advisorAmorn.P@Chula.ac.th-
dc.email.advisorPairoh.P@Chula.ac.th-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Kanjana_ra_front_p.pdf728.63 kBAdobe PDFView/Open
Kanjana_ra_ch1_p.pdf331.36 kBAdobe PDFView/Open
Kanjana_ra_ch2_p.pdf1.32 MBAdobe PDFView/Open
Kanjana_ra_ch3_p.pdf752.65 kBAdobe PDFView/Open
Kanjana_ra_ch4_p.pdf1.61 MBAdobe PDFView/Open
Kanjana_ra_ch5_p.pdf388.5 kBAdobe PDFView/Open
Kanjana_ra_back_p.pdf771.3 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.