Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/72715
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorดวงกมล ชาติประเสริฐ-
dc.contributor.authorคมสัน รัตนะสิมากูล-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2021-03-09T04:22:54Z-
dc.date.available2021-03-09T04:22:54Z-
dc.date.issued2540-
dc.identifier.isbn9746390961-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/72715-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (นศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2540en_US
dc.description.abstractงานวิจัยเชิงทดลองนี้ได้เปรียบเทียบความน่าเชื่อถือของสื่อหนังสือพิมพ์และสื่อคอมพิวเตอร์ รวมทั้งศึกษาว่า ผู้รับสารจะประเมินคุณลักษณะของคอมพิวเตอร์ที่ไม่เกี่ยวข้องกับความเป็นสื่อและการรับรู้ว่าคอมพิวเตอร์เป็นผู้กระทำ (actor) หรือเป็นเครื่องมือ (too) มีผลต่อการประเมินความน่าเชื่อถือของสื่อทั้งสองหรือไม่ ผู้วิจัยได้แบ่งกลุ่มทดลองเป็น 2 กลุ่ม และให้อ่านข่าวเดียวกันจากสื่อหนังสือพิมพ์และสื่อคอมพิวเตอร์ หลังจากนั้นผู้ร่วมการทดลองต้องประเมินความน่าเชื่อถือต่อแหล่งสารและทำแบบวัดทัศนคติที่มีต่อคอมพิวเตอร์ ตามลำดับ ผลการวิจัยชี้ให้เห็นว่า ผู้อ่านประเนินความน่าเชื่อถือสื่อคอมพิวเตอร์สูงกว่าสื่อหนังสือพิมพ์ โดยที่กลุ่มคนที่มองคอมพิวเตอร์เป็นบวกจะประเนินความน่าเชื่อถือระหว่างสื่อคอมพิวเตอร์และสื่อหนังสือพิมพ์แตกต่างกันมากกว่ากลุ่มที่มองคอมพิวเตอร์เป็นลบ แต่สำหรับในการมองคอมพิวเตอร์เป็นผู้กระทำ (actor) หรือเป็นเครื่องมือ (tool) ไม่มีผลต่อการประเนินความน่าเชื่อถือต่อแหล่งสาร-
dc.description.abstractalternativeThis experimental study compares source credibility which can be attributed to the formal features of the newspaper and the computer. เท addition, it examines whether readers’ evaluation of non-media related-characteristics of the computer and their perception of the computer as an actor as opposed to a tool affect their perception of source credibility in any way. Two groups of subjects were asked to read the same message either from a newspaper or a computer before rating source credibility of their assigned media. Results indicated that the readers of the computer as a whole rated their source more credible than the readers of the newspaper. However, the difference was larger in the group that perceive the computer more positively than the group that perceive the computer less positively. The readers’ perception of the computer as an actor or as a tool did not affect their perception of source credibility.-
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.1997.286-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectความเชื่อถือได้en_US
dc.subjectสื่อมวลชนen_US
dc.subjectคอมพิวเตอร์ -- ความเชื่อถือได้en_US
dc.subjectหนังสือพิมพ์en_US
dc.subjectReliabilityen_US
dc.subjectComputers -- Reliabilityen_US
dc.subjectNewspapersen_US
dc.titleรูปแบบของสื่อกับความน่าเชื่อถือที่มีต่อแหล่งสาร : เปรียบเทียบสื่อหนังสือพิมพ์และสื่อคอมพิวเตอร์en_US
dc.title.alternativeThe formal feature of the media and source credibility : a comparison of the newspaper and the computeren_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameนิเทศศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineการหนังสือพิมพ์en_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorDuangkamol.C@Chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.1997.286-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Komsan_ra_front_p.pdfหน้าปก และบทคัดย่อ854.03 kBAdobe PDFView/Open
Komsan_ra_ch1_p.pdfบทที่ 1795.44 kBAdobe PDFView/Open
Komsan_ra_ch2_p.pdfบทที่ 21.26 MBAdobe PDFView/Open
Komsan_ra_ch3_p.pdfบทที่ 3915.9 kBAdobe PDFView/Open
Komsan_ra_ch4_p.pdfบทที่ 4922.37 kBAdobe PDFView/Open
Komsan_ra_ch5_p.pdfบทที่ 5777.78 kBAdobe PDFView/Open
Komsan_ra_back_p.pdfบรรณานุกรม และภาคผนวก1.13 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.