Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/72722
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวัณณศรี สินธุภัค-
dc.contributor.authorจงกลนี วงศ์ปิยะบวร-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2021-03-09T06:55:00Z-
dc.date.available2021-03-09T06:55:00Z-
dc.date.issued2540-
dc.identifier.isbn9746372874-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/72722-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2540en_US
dc.description.abstractเพื่อศึกษาความสำคัญของการทดสอบ patch test แบบมาตรฐานในผู้ป่วยผื่นอักเสบบริเวณมือ โดยศึกษาอัตราการให้ผลบวกต่อการทดสอบ patch test แบบมาตรฐานในผู้ป่วยผื่นอักเสบบริเวณมือ พร้อมทั้งศึกษาปัจจัยทางคลินิกที่มีผลต่อผลการทดสอบ patch test แบบมาตรฐานในผู้ป่วยดังกล่าว ทำการศึกษาเป็นแบบ descriptive study ในผู้ป่วยผื่นอักเสบบริเวณมือ 150 รายที่มารับการรักษาที่แผนกผู้ป่วยนอก โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ โดยการซักประวัติตรวจร่างกาย และทำการทดสอบ patch test แบบมาตรฐาน โดยใช้สาร allergen 24 ตัว ผู้ป่วยผื่นอักเสบบริเวณมือที่เข้ารับการทดสอบมีอายุระหว่าง 5-68 ปี เป็นชาย 51 ราย หญิง 99 ราย ผลการวิจัยพบว่า อัตราการให้ผลบวกต่อการทดสอบ patch test แบบมาตรฐานในผู้ป่วยผื่นอักเสบบริเวณ มือเท่ากับ 48.7 % และอัตราการให้ผลการทดสอบ relevance ในการทดสอบ patch test แบบมาตรฐานในผู้ป่วยผื่น อักเสบบริเวณมือเท่ากับ 40.7 % สาร allergen ที่ให้ผลการทดสอบสูงสุดเรียงตามลำดับคือ nickel sulphate 19.3 % fragrance mix 12.7 % potassium dichromate 11.8 % cobalt chloride 8.7 % ปัจจัยทางคลินิกที่มีความสัมพันธ์ต่อการให้ผลบวกต่อการทดสอบ ในการทดสอบ patch test แบบ มาตรฐานในผู้ป่วยผื่นอักเสบบริเวณมือ ได้แก่ อาชีพก่อสร้าง ประวัติการเกิดผื่นภายหลังสัมผัสวัสดุที่มีสาร nickel เป็นส่วนประกอบ ตรวจพบผื่นบริเวณมือมากกว่า 1 ตำแหน่ง ตรวจพบตุ่มนํ้าชนิดตื้น โดยพบว่าหากพบปัจจัยเหล่านี้ โอกาสการให้ผลบวกจะสูงขึ้น ส่วนปัจจัยที่หากพบจะทำให้โอกาสการให้ผลบวกตํ่าลง ได้แก่ ประวัติการทำงานบ้านประวัติภูมิแพ้ของญาติ การศึกษาในครั้งนี้แสดงให้เห็นว่าอัตราการให้ผลบวกต่อการทดสอบ patch test แบบมาตรฐานในผู้ป่วยผื่น อักเสบบริเวณมือค่อนช้างสูง และการทดสอบ patch test แบบมาตรฐานมีความสำคัญในการแยกชนิดและหาสารที่เป็นสาเหตุของโรคผื่นอักเสบบริเวณมือ และหากพบว่าผู้ป่วยมีปัจจัยทางคลินิกที่บ่งชี้ว่าการทดสอบ patch test แบบ มาตรฐานจะให้ผลบวก อันได้แก่ อาชีพก่อสร้าง ประวัติการเกิดผื่นภายหลังสัมผัสวัสดุที่มีสาร nickel เป็นส่วนประกอบพบผื่นบริเวณมือมากกว่า 2 ตำแหน่ง พบมีตุ่มนํ้าชนิดตื้น ควรพิจารณาส่งผู้ป่วยรายนั้นมาทำการทดสอบ patch test แบบมาตรฐานมากขึ้น-
dc.description.abstractalternativeTo determine whether the standard patch test could be the routine investigation for hand eczema patient. We study the rate of positive standard patch test and the clinical factors which influence on the result of the standard patch test in hand eczema patient. This descriptive study was designed to study the 150 patients, age 5-68 years, 51 males and 99 females by history taking, physical examination and standard patch test with 24 allergens. It was found that the rate of positive standard patch test in hand eczema patient was 48.7% and the rate of relevance of the test was 40.7%. The most common allergen was nickel sulphate (19.3%) followed by fragrance mix 12.7%, potassium dichromate 11.8% and cobalt chloride 8.7%. The clinical factors which related to the positive result of the test were construction labors, history of lesion developed after nickel exposure, lesion on more than 1 location and lesion with superficial vesicles. The clinical factors which related to the negative result of the test were houseworking and family history of atopy. This study shows that the rate of positive standard patch test in hand eczema patient was rather high. The standard patch test is an important investigation for classifying and searching the causes of hand eczema, especially patients who are construction labors, have history of rashes after nickel exposure, have lesion on more than one location, and have lesions with superficial vesicles.-
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.1997.167-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectโรคผื่นสัมผัสen_US
dc.subjectผิวหนัง -- การอักเสบen_US
dc.subjectมือ -- โรคen_US
dc.subjectContact dermatitisen_US
dc.subjectHand -- Diseasesen_US
dc.subjectSkin -- Inflammationen_US
dc.titleอัตราการให้ผลบวกของ Patch test แบบมาตรฐานในผู้ป่วยผื่นอักเสบบริเวณมือและปัจจัยทางคลินิกที่มีผลต่อการทดสอบen_US
dc.title.alternativeRate of positive standard patch test and the clinical factors influencing the result of the test in hand eczema patientsen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineอายุรศาสตร์en_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorWannasri.S@Chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.1997.167-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Jongkonnee_wo_front_p.pdfหน้าปก และบทคัดย่อ910.09 kBAdobe PDFView/Open
Jongkonnee_wo_ch1_p.pdfบทที่ 11.46 MBAdobe PDFView/Open
Jongkonnee_wo_ch2_p.pdfบทที่ 22.4 MBAdobe PDFView/Open
Jongkonnee_wo_ch3_p.pdfบทที่ 31.04 MBAdobe PDFView/Open
Jongkonnee_wo_ch4_p.pdfบทที่ 4746.98 kBAdobe PDFView/Open
Jongkonnee_wo_ch5_p.pdfบทที่ 5667.02 kBAdobe PDFView/Open
Jongkonnee_wo_back_p.pdfบรรณานุกรม และภาคผนวก796.9 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.