Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/72909
Title: พฤติกรรมการลงคะแนนเสียงเลือกตั้งของประชาชนอายุ 18-19 ปี : ศึกษากรณีจังหวัดนครราชสีมา
Other Titles: Voting behavior of 18-19 years old voters : a case study of Nakhon Ratchasima province
Authors: สมนึก พิพิธรังษี
Advisors: อนุสรณ์ ลิ่มมณี
Other author: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย
Advisor's Email: Anusorn.L@chula.ac.th
Subjects: การเลือกตั้ง
การลงคะแนนเสียง
นครราชสีมา -- การเมืองและการปกครอง
Elections
Voting
Nakhon Ratchasima province -- Politics and government
Issue Date: 2540
Publisher: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Abstract: การศึกษาวิจัยเรื่องนี้มุ่งศึกษาพฤติกรรมการลงคะแนนเสียงเลือกตั้งของประชาชนอายุ 18-19 ปี ในจังหวัดนครราชสีมา ซึ่งมีสมมติฐานในการวิจัยคือ ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมการลงคะแนนเสียงเลือกตั้ง ของประชาชนอายุ18-19ปี ได้แก่ ปัจจัยทางด้านเศรษฐศาสตร์ ปัจจัยทางด้านจังคมวิทยา และปัจจัยทางด้านจิตวิทยา โดยปัจจัยทางสังคมวิทยามีอิทธิพลต่อพฤติกรรมการลงคะแนนเสียงเลือกตั้งของประชาชนอายุ 18-19ปี มากที่สุด ผลการวิจัยสรุปได้ว่า ประชาชนอายุ 18-19 ปี ในจังหวัดนครราชสีมาส่วนใหญ่มีเหตุผลในการลงคะแนนเสียงเลือกตั้งเพราะต้องการได้ผู้สมัครที่มีความรู้ความสามารถ, มีเหตุผลไม่ไปลงคะแนนเสียงเลือกตั้ง เพราะติดธุระมากที่สุด, ส่วนใหญ่ไม่เห็นด้วยกับการซื้อเสียง, ส่วนใหญ่มีความรู้ความเข้าใจทางการเมือง สามารถตัดสินใจเลือกผู้สมัครได้นานแล้ว เป็นผู้ตัดสินใจเลือกด้วยตนเอง และมีเกณฑ์ในการลงคะแนนเสียง โดยนิยมในตัวบุคคลมากกว่าพรรคการเมืองโดยปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมการลงคะแนนเสียงเลือกตั้งของ ประชาชนอายุ 18-19 ปี ในจังหวัดนครราชสีมา ได้แก่ ปัจจัยทางเศรษฐศาสตร์ ปัจจัยทางสังคมวิทยา และปัจจัยทางจิตวิทยา โดยภาพรวมแล้วปัจจัยทางสังคมวิทยาอัน ได้แก่ เขตที่อยู่อาศัย, อาชีพ, การศึกษา, รายได้ของครอบครัวต่อเดือน มีอิทธิต่อพฤติกรรมการลงคะแนนเสียงมากที่สุด
Other Abstract: This Study aims finding out voting behavior of 18-19 years old voters in Nakhon Ratchasima province. It is hypothesized that factors influencing these age group are economic, psychological, and sociological ones, with understanding that is the sociological factors are the most prominent. The conclusion reached is that voters with 18-19 years of age vote for candidates know to be capable. Those who do not vote cite the engagement in something or others as the main reason. The majority of them do not approve vote buying. They are mostly informed about politics. They have autonomously long decided who to vote for. They tend to choose personality rather than party. Significant factors contributing to behavioral action of the 18-19 years old electorates of Nakon Ratchasima are those of economics, psychology and sociology. Particularly on sociological factors, such as residence zone, occupation, education, family income are most determinant in voting behavior.
Description: วิทยานิพนธ์ (ร.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2540
Degree Name: รัฐศาสตรมหาบัณฑิต
Degree Level: ปริญญาโท
Degree Discipline: การปกครอง
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/72909
URI: http://doi.org/10.14457/CU.the.1997.301
ISBN: 9746835097
metadata.dc.identifier.DOI: 10.14457/CU.the.1997.301
Type: Thesis
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Somnuk_pi_front.pdfหน้าปกและบทคัดย่อ290.03 kBAdobe PDFView/Open
Somnuk_pi_ch1.pdfบทที่ 1702.57 kBAdobe PDFView/Open
Somnuk_pi_ch2.pdfบทที่ 21.18 MBAdobe PDFView/Open
Somnuk_pi_ch3.pdfบทที่ 3321.91 kBAdobe PDFView/Open
Somnuk_pi_ch4.pdfบทที่ 4242.4 kBAdobe PDFView/Open
Somnuk_pi_ch5.pdfบทที่ 51.57 MBAdobe PDFView/Open
Somnuk_pi_ch6.pdfบทที่ 6499.69 kBAdobe PDFView/Open
Somnuk_pi_back.pdfบรรณานุกรมและภาคผนวก186.79 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.