Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/74152
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorประสิทธิ์ โฆวิไลกูล-
dc.contributor.advisorวิษณุ เครืองาม-
dc.contributor.authorไอศูรย์ ธีรนิติ-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2021-06-25T07:36:10Z-
dc.date.available2021-06-25T07:36:10Z-
dc.date.issued2533-
dc.identifier.isbn9745795981-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/74152-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (น.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2533en_US
dc.description.abstractในประเทศไทยซึ่ง เป็นประเทศในระบบประมวลกฎหมายยังมีการเดินตามแนวคำพิพากษาศาลฎีกา อยู่เป็นอันมาก โดยเฉพาะในช่วงแรกของการปฏิรูปกฎหมายสมัยรัชกาลที่ 5 และ 6 สาเหตุอาจเกิดจาก 1. เหตุผลทางด้านประวัติศาสตร์กฎหมาย ซึ่งแต่ เดิมนั้นสำพิพากษา เฟ้นพระบรมราชวินิจฉัย จึงมี ความสำคัญและมีสถานะสูง 2 . เหตุผลทางด้านการศึกษา เนื่องจากผู้สอนกฎหมายส่วนใหญ่มาจากผู้พิพากษา หรือผู้ที่มาจากวงวิชาชีพทางกฎหมาย ซึ่งให้ความสำคัญกับคำพิพากษาศาลฎีกาและนำมาใช้อธิบายในการสอนกฎหมาย 3 . เหตุผลทางด้านความจำเป็น เพราะการอ้างอิงคำพิพากษาศาลฎีกา เป็นแนวทางในการวินิจฉัย เป็นวิธีการที่สะดวก และประกันได้ว่าจะไม่ผิดพลาดหรือถูกกลับโดยศาลสูง 4 . เหตุผลทางด้านความเคยชิน เพราะผู้พิพากษาส่วนใหญ่สำเร็จการศึกษามาจากประเทศคอมมอนลอว์หรือมิฉะนั้นก็ เป็นศิษย์ของผู้ที่สำเร็จการศึกษามาจากประเทศคอมมอนลอว์ที่มีการอ้างคำพิพากษาศาลฎีกา 5 . เหตุผลทางด้านกฎหมาย ศาลล่างต้องเชื่อถือศาลสูงตามประเด็นที่ศาลสูงย้อนสำนวนส่งมาให้ พิจารณาหรือวินิจฉัยตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง ผู้วิจัยได้สำรวจทัศนคติของผู้ที่อยู่ในวงการกฎหมาย 3 ฝ่าย คือ ผู้พิพากษา นักกฎหมายฝ่ายปฏิบัติ ( พนักงานอัยการ , ทนายความ และ อื่น ๆ ) และนักกฎหมายฝ่ายวิชาการ (อาจารย์และนิสิตนักศึกษา) เพื่อสำรวจความเห็นของนักกฎหมายใน เรื่องนี้ ซึ่งได้ผลดังนี้ 1 . ผู้พิพากษา ส่วนใหญ่ เห็นด้วยกับการที่ศาลล่างพิพากษา เดินตามแนวคำพิพากษาของศาลสูง 2 . นักกฎหมายฝ่ายปฏิบัติ ส่วนใหญ่เห็นด้วยกับการเดินตามแนวคำพิพากษาของศาลสูง ซึ่งคงเป็น เพราะความสะดวกในวิชาชีพฃองตนนั่นเอง 3 . นักกฎหมายฝ่ายวิชาการ ในส่วนของอาจารย์ส่วนใหญ่ไม่เห็นด้วยกับการเดินตามแนวคำพิพากษาของศาลสูง แต่ในส่วนของนิสิตนักศึกษากลับมีความเห็นไปในทางเห็นด้วย-
dc.description.abstractalternativeAlthough Thailand uses civil law system, precedents of the Thai Supreme Court have been predominantly followed especially at the initial stage of legal reform in the reign of King Rama V and VI. Reasons for this are as follows: 1. Legal History. Formerly, judgements were made in the form of royal decrees who put great importance and high status. 2. Education. Most law teachers were judges or legal professionals who put great importance on Supreme Court judgement which were taught and explained in classes. 3. Necessity. Referent to Supreme Court judgements is convenient and unmistakable and will not be reversed by higher courts. 4. Applicability. Many judges were educated in common law countries or were students of teacher who graduated from common law countries. 5. Legal System. Lower courts are bound to respect higher courts's opinion on issues remanded for consideration according to the Civil Procedure Code. The researcher has surveyed attitude of the three parties in the legal profession, i.e. judges, applied lawyer (prosecutor, lawyer, etc.) and legal academics (lecturers and law students) on this matter and has found the following: 1. Judges. Most judges agree that lower courts should follow higher courts's precedents. 2. Applied Lawyer. Most of them agree that higher courts's precedents should be followed for reason of convenience. 3. Legal Academics. Most legal lecturers disagree with following higher courts's precedents, but law students tend to agree with number one.-
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectนักกฎหมาย -- ทัศนคติen_US
dc.subjectคำพิพากษาen_US
dc.subjectLawyers -- Attitudesen_US
dc.subjectJudgmentsen_US
dc.titleทัศนคติของนักกฎหมายไทยในการเดินตามแนวคำพิพากษาของศาลฎีกาen_US
dc.title.alternativePrecedent of the Thai supreme court in views of Thai lawyersen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameนิติศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineนิติศาสตร์en_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorไม่มีข้อมูล-
dc.email.advisorwissanu.k@chula.ac.th-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Isoon_th_front_p.pdf921.7 kBAdobe PDFView/Open
Isoon_th_ch1_p.pdf1.04 MBAdobe PDFView/Open
Isoon_th_ch2_p.pdf3 MBAdobe PDFView/Open
Isoon_th_ch3_p.pdf2.77 MBAdobe PDFView/Open
Isoon_th_ch4_p.pdf2 MBAdobe PDFView/Open
Isoon_th_ch5_p.pdf1.98 MBAdobe PDFView/Open
Isoon_th_ch6_p.pdf1.08 MBAdobe PDFView/Open
Isoon_th_back_p.pdf1.54 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.