Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/74516
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวไลรัตน์ บุญสวัสดิ์-
dc.contributor.authorอุษา สุทธินาค-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2021-07-16T03:29:00Z-
dc.date.available2021-07-16T03:29:00Z-
dc.date.issued2532-
dc.identifier.isbn9745760137-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/74516-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2532en_US
dc.description.abstractในการศึกษาบทบาทการนิเทศการศึกษาของหัวหน้าหมวดวิชา ตามการรับรู้ของตนเองและของครูในโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่พิเศษ ขนาดใหญ่ ขนาดกลาง และขนาดเล็ก ปรากฏว่า หัวหน้าหมวดวิชาส่วนใหญ่ในโรงเรียนทุกขนาด มีการปฏิบัติการนิเทศการศึกษาตามบทบาททั้ง 5 ด้าน ดังนี้ 1. บทบาทด้านหลักสูตรและการพัฒนาหลักสูตร ส่วนใหญ่หัวหน้าหมวดวิชาจัดหาเอกสาร หลักสูตรให้ครูศึกษาด้วยตนเอง และส่งเสริมให้ครูที่สอนวิชาเดียวกันร่วมกันดำเนินการอย่างใกล้ชิดเกี่ยวกับบทบาทนี้ 2. บทบาทด้านการปฏิบัติการสอน ส่วนใหญ่หัวหน้าหมวดวิชามอบหมายให้สอนตรงกับความรู้ความสามารถและประสบการณ์ของครู ส่งเสริมให้ครูจัดชั้นเรียนและการสร้างบรรยากาศในห้องเรียนให้เหมาะสมส่งเสริมครูที่มีความคิดริเริ่มในด้านการสอน นำผลการวิจัยด้านการสอนมาเผยแพร่ และให้คำปรึกษาแก่ครูในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน 3. บทบาทด้านวัสดุอุปกรณ์การสอน ส่วนใหญ่หัวหน้าหมวดวิชาให้ครูสำรวจสภาพและความต้องการการใช้วัสดุอุปกรณ์ประกอบการเรียนการสอน ส่งเสริมให้ครูจัดทวัสดุอุปกรณ์การสอนโดยใช้วัสดุที่หาง่าย ให้ครูตรวจสอบสภาพของวัสดุอุปกรณ์เป็นระยะ ๆ และจัดตั้งคณะกรรมการในการซ่อมแซม 4. บทบาทด้านการประเมินผลการสอน ส่วนใหญ่หัวหน้าหมวดวิชาดูแลการจัดและประเมินผลให้เป็นไปตามระเบียบของกระทรวงศึกษาธิการ และสรุปรายงานการปฏิบัติงานของครูในหมวดวิชาต่อผู้อำนวยการโดยส่งผ่านฝ่ายวิชาการ 5. บทบาทด้านการพัฒนาบุคลากร ส่วนใหญ่หัวหน้าหมวดวิชาแจ้งให้ครูใหม่ทราบถึงงานในหน้าที่และวิธีปฏิบัติงาน ให้คำปรึกษาแนะนำครูใหม่ในด้านการเรียนการสอน ส่งครูไปฟังการบรรยายและส่งเข้ารับการอบรมทางด้านวิชาการตามที่สถาบันต่าง ๆ จัดขึ้น-
dc.description.abstractalternativeFindings: ln supervisory roles of Subject Division studying Heads as perceived by themselves and teachers in extra-large, large, medium and small secondary schools, it was found that most of the Subject Division Heads in every size had educational supervisory practices as follows: 1. Concerning Curriculum and Curriculum Development Role, most of t Subject Division Heads provided curriculum materials. for teachers to study by themselves and encouraged the teachers to co-operate closely with this role. 2. Concerning Instruction Role, most of the Subject Division Heads assigned the teachers to teach subject to their willingness and their experiences to encourage teachers to manage suitble climate in their classes and their classes enviroment to encourage teacher who had creative idea in teaching, to dishibuty research concerning instruction and supervise the teaching and learning activities 3. Concerning Teaching Materials Role, most of the Subject Division Heads encouraged teachers to survey situation and need assessment in using instructional media, to encourage teachers to make materials by using available materials, to check the materials regularly and assigning the comittee to repair them. 4. Concerning Instructional Evaluation Role, most of the Subject Division Heads evaluated the teaching assessment according to regulation of the Ministry of Education and report to the directors through their academic assistances. 5. Concerning Personnel Development Role, most of the Subject Division Heads orientated all new teachers in teaching-learning experiences and sending teachers to attend academic lectures and meetings.-
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectการนิเทศการศึกษาen_US
dc.subjectการวางแผนหลักสูตรen_US
dc.subjectการสอน -- การประเมินen_US
dc.subjectการพัฒนาบุคลากรen_US
dc.subjectSupervised studyen_US
dc.subjectCurriculum planningen_US
dc.subjectTeaching -- Evaluationen_US
dc.titleบทบาทการนิเทศการศึกษาของหัวหน้าหมวดวิชา ตามการรับรู้ของตนเองและของครูในโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดกรมสามัญศึกษา กรุงเทพมหานครen_US
dc.title.alternativeSupervisory roles of subject division heads as perceived by themselves and teachers in secondary schools under the jurisdiction of the Department of General Education, Bangkok Metropolisen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineนิเทศการศึกษาและพัฒนาหลักสูตรen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorไม่มีข้อมูล-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Usa_sut_front_p.pdf985.76 kBAdobe PDFView/Open
Usa_sut_ch1_p.pdf846.23 kBAdobe PDFView/Open
Usa_sut_ch2_p.pdf1.95 MBAdobe PDFView/Open
Usa_sut_ch3_p.pdf770.08 kBAdobe PDFView/Open
Usa_sut_ch4_p.pdf5.06 MBAdobe PDFView/Open
Usa_sut_ch5_p.pdf1.41 MBAdobe PDFView/Open
Usa_sut_back_p.pdf1.74 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.