Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/74596
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | พินิจ กุลละวณิชย์ | - |
dc.contributor.advisor | สัจพันธ์ อิศรเสนา | - |
dc.contributor.author | ดวงพร ทองงาม | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย | - |
dc.date.accessioned | 2021-07-20T10:13:57Z | - |
dc.date.available | 2021-07-20T10:13:57Z | - |
dc.date.issued | 2540 | - |
dc.identifier.isbn | 9746384867 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/74596 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2540 | en_US |
dc.description.abstract | วัตกุประสงค์ การศึกษานี้จัดทำขึ้นเพื่อต้องการหาว่ามีตัวทำนายใดบ้างที่สามารถบอกถึงผลลัพธ์ที่ไม่ดีในผู้ป่วย เลือดออกจากทางเดินอาหารส่วนต้น ที่ไม่ได้เกิดจากเส้นเลือดขอด โดยวิเคราะห์จากข้อมูลย้อนหลังจัดทำเป็นระบบ การให้คะแนนที่ชื่อว่า ระบบการให้คะแนนของโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ แล้วนำมาทดสอบความถูกต้องว่าสามารถ ใช้พยากรณ์ผลลัพธ์ในผู้ป่วยใหม่ได้ วิธีการศึกษา ขั้นแรก เป็นการศึกษาย้อนหลัง จัดเก็บข้อมูลในผู้ป่วย 264 ราย ที่มาด้วยเลือดออกจากทางเดิน อาหารส่วนต้นภายใน 3 วัน โดยไม่ได้เกิดจากเส้นเลือดขอดตั้งแต่กุมภาพันธ์ 2539 ถึงกุมภาพันธ์ 2540 เพื่อหาตัว ทำนายถึงผลลัพธ์ที่ไม่ดี ได้แก่ การมีเลือดออกซ้ำ, ถูกผ่าตัดด่วนเพื่อหยุดเลือดที่ออก, เสียชีวิตในโรงพยาบาล นำตัว ทำนายเหล่านี้มาจัดทำเป็นระบบการให้คะแนน ขึ้นกับน้ำหนักของตัวทำนาย จัดแบ่งผู้ป่วยเป็นกลุ่มเสี่ยงน้อยและ เสี่ยงมากต่อการเกิดผลลัพธ์ไม่ดี ขั้นที่สอง เป็นการศึกษาไปข้างหน้าเพื่อทดสอบความถูกต้องของระบบการให้คะแนนนี้ โดยนำมาใช้ในผู้ป่วยใหม่ 107 รายเพื่อวิเคราะห์ถึงค่าความสามารถในการพยากรณ์ของระบบนี้ ผลการศึกษา สาเหตุที่พบมากที่สุดคือแผลในกระเพาะอาหาร 48.6% ส่วนใหญ่เป็นผู้ชาย 70.6% อายุเฉลี่ย 54 ± 17.23 ปี (15-89 ปี) ผลลัพธ์ที่ไม่ดีพบได้ 15.9% วิเคราะห์หาตัวทำนายได้ 4 ข้อ จัดเรียงตามน้ำหนักได้นี้ ตัวทำนาย 0 คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน อัตราการเต้นหัวใจ (ครั้ง/นาที) <110 >110 โรคประจำตัว ไม่มี <1โรค จำนวนเลือดที่ได้รับทดแทน (ยูนิต) <6 >6 ลักษระก้นแผ่ clean base, pigment spot visible vessel adherent clot active bleeding รวมคะแนนที่ได้ทั้งหมด ถ้าคะแนนน้อยกว่า 2 คะแนน จัดเป็นกลุ่มเสี่ยงน้อย คือได้ผลลัพธ์ดี ถ้าคะแนนรวมเท่ากันหรือมากกว่า 2 คะแนน จัดเป็นกลุ่มเสี่ยงมากคือ ได้ผลลัพธ์ไม่ดี คำนวณความแม่นยำของระบบการให้คะแนนที่พบว่าถูกต้องแม่นยำ 89.7% ค่าการพยากรณ์ในทางบวกเท่ากับ 76.9% ค่าการพยากรณ์ในทางลบเท่ากับ 96.6% สรุป ระบบการให้คะแนนของโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์สามารถนำมาใช้พยากรณ์ผลลัพธ์ได้รับในผู้ป่วยที่มาด้วยเลือดออกจากทางเดินอาหารส่วนต้นได้ จึงใช้เป็นแนวทางในการแบ่งกลุ่มผู้ป่วยเพื่อการรักษาที่เหมาะสมต่อไป | - |
dc.description.abstractalternative | Objective : The purpose of this study was to determine the predictors for poor outcome of UGIH by establishing Chulalongkorn Hospital Scoring System (CHSS) from retrospective cases and to validate the CHSS in prospective cases. Patients and Methods : First ; 264 cases of acute non-variceal UGIH between February 1996-February 1997 were reviewed to determine the predictors of poor outcome (defined as major rebleeding, emergency surgery to control bleeding, and hospital death) These predictors were then ranked into a scoring system. Second; this CHSS was validated in 107 patients, prospectively. Results : The most common cause of UGIH was GU (48.6%) and DU (19.9%). There were 262 male patients (70.6%) and 109 female patients (29.4%). The mean age was 54.92 ± 17.23 years (range 15-89 years). There were 59 patients who had poor outcome (15.9%). The 4 predictors and the rank of scoring system are shown in a following table. Predictors score 0 score 1 score heart rate (beat / min) <110 >110 concurrent illness 0 >1 disease total blood replacement (U) <6 >6 stigmata of recent bleeding clean base, pigment spot, visible vessel, adherent clot active bleeding By adding up the points of all risk factors, we calculated the overall scores and established a correlation to the poor outcome. Patients with score < 2 points had good outcome and score > 2 had poor outcome. The accuracy of the CHSS was 89.7%. The PPV was 76.9% and the NPV was 96.6% respectively. Conclusions : The CHSS could be served soon after admission as a predictor of poor outcome in patients presenting with non-variceal upper gastrointestinal hemorrhage. | - |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.relation.uri | http://doi.org/10.14457/CU.the.1997.374 | - |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.subject | ระบบกระเพาะอาหารและลำไส้ -- โรค | en_US |
dc.subject | ภาวะเลือดออกในกระเพาะอาหารและลำไส้ | en_US |
dc.subject | Gastrointestinal system -- Diseases | en_US |
dc.subject | Gastrointestinal hemorrhage | en_US |
dc.title | ระบบการให้คะแนนของโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ในการทำนายผลลัพธ์ที่ไม่ดีของเลือดออกในทางเดินอาหารส่วนต้นที่ไม่ได้เกิดจากเส้นเลือดขอด | en_US |
dc.title.alternative | Chulalongkorn Hospital scoring system to predict poor outcome in non-variceal upper gastrointestinal hemorrhage | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต | en_US |
dc.degree.level | ปริญญาโท | en_US |
dc.degree.discipline | อายุรศาสตร์ | en_US |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.email.advisor | Pinit.K@Chula.ac.th | - |
dc.email.advisor | ไม่มีข้อมูล | - |
dc.identifier.DOI | 10.14457/CU.the.1997.374 | - |
Appears in Collections: | Grad - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Duangporn_th_front_p.pdf | หน้าปก และบทคัดย่อ | 914.77 kB | Adobe PDF | View/Open |
Duangporn_th_ch1_p.pdf | บทที่ 1 | 752.22 kB | Adobe PDF | View/Open |
Duangporn_th_ch2_p.pdf | บทที่ 2 | 989.51 kB | Adobe PDF | View/Open |
Duangporn_th_ch3_p.pdf | บทที่ 3 | 871.23 kB | Adobe PDF | View/Open |
Duangporn_th_ch4_p.pdf | บทที่ 4 | 789.2 kB | Adobe PDF | View/Open |
Duangporn_th_ch5_p.pdf | บทที่ 5 | 839.68 kB | Adobe PDF | View/Open |
Duangporn_th_ch6_p.pdf | บทที่ 6 | 1.22 MB | Adobe PDF | View/Open |
Duangporn_th_back_p.pdf | บรรณานุกรม และภาคผนวก | 796.28 kB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.