Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/7467
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorธนวดี บุญลือ-
dc.contributor.authorขวัญใจ ผลิเจริญสุข-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.coverage.spatialกรุงเทพมหานคร-
dc.date.accessioned2008-07-09T03:17:15Z-
dc.date.available2008-07-09T03:17:15Z-
dc.date.issued2539-
dc.identifier.isbn9746366823-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/7467-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (นศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2539en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อศึกษาการสื่อสารในครอบครัว กับความรู้และทัศนคติเกี่ยวกับยาบ้าของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้น ในเขตกรุงเทพมหานคร พร้อมทั้งศึกษาปัจจัยต่างๆ ที่มีอิทธิพลต่อการเปิดรับข่าวสาร ความรู้ และทัศนคติเกี่ยวกับยาบ้า ของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้น ผลการวิจัยพบว่า นักเรียนส่วนใหญ่มีรูปแบบการสื่อสารในครอบครัวแบบเปิด สื่อมวลชนที่นักเรียนส่วนใหญ่เปิดรับบ่อยที่สุดคือโทรทัศน์ ส่วนผลของการเปิดรับเรื่องราวเกี่ยวกับยาบ้าจากสื่อโทรทัศน์ทำให้หลีกเลี่ยงพฤติกรรมเสี่ยงในการลองเสพ สื่อวิทยุทำให้เกรงกลัวในอันตราย และสื่อหนังสือพิมพ์ทำให้ได้รับความรู้ความเข้าใจ นักเรียนมีความรู้เกี่ยวกับยาบ้าในระดับปานกลาง และเห็นด้วยกับการต่อต้านการเสพยาบ้า เมื่อทำการทดสอบสมมติฐานในการวิจัยได้ผลดังนี้ 1. นักเรียนที่มีรูปแบบการสื่อสารในครอบครัวที่ต่างกัน ไม่มีความสัมพันธ์กับการเปิดรับโทรทัศน์และหนังสือพิมพ์แต่มีความสัมพันธ์กับการเปิดรับวิทยุ โดยพบว่ารูปแบบการสื่อสารในครอบครัวแบบเปิด มีการเปิดรับมากกว่ารูปแบบการสื่อสารในครอบครัวแบบเปิด 2. รูปแบบการสื่อสารในครอบครัวไม่มีความสัมพันธ์กับความรู้และทัศนคติเกี่ยวกับยาบ้า 3. การเปิดรับข่าวสารจากโทรทัศน์และวิทยุ ไม่มีความสัมพันธ์กับความรู้และทัศนคติเกี่ยวกับยาบ้าส่วนการเปิดรับหนังสือพิมพ์มีความสัมพันธ์กับความรู้เกี่ยวกับยาบ้า แต่ไม่มีความสัมพันธ์กับทัศนคติต่อยาบ้า 4. นักเรียนหญิงและนักเรียนชาย มีความรู้และทัศนคติเกี่ยวกับยาบ้าไม่แตกต่างกัน 5. นักเรียนระดับมัธยมศึกษาปีที่ 1, 2 และ 3 มีความรู้และทัศนคติเกี่ยวกับยาบ้าไม่แตกต่างกันen
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this study is to investigate relationship between family communication and knowledge as well as attitude toward amphetamines among the lower secondary school students in Bangkok. Factors which influence information exposure, knowledge and attitude toward amphetamines are also explored. Findings : 1. Students' exposure to television and newspaper were not correlated significantly with family communication. Students' exposure to radio was correlated with family communication, Open Family communication can explain differences in exposure to radio. 2. Students with different family communication pattern do not have different knowledge and attitude toward amphetamines. 3. Students' exposure to television and radio were not correlated with knowledge and attitude toward amphetamines. Students' exposure to newspaper was correlated with knowledge but not with attitude. 4. Girls and boys do not have different knowledge and attitude toward amphetamines 5. Students at all levels of the lower secondary education do not have different knowledge and attitude toward amphetamines.en
dc.format.extent1139566 bytes-
dc.format.extent1170222 bytes-
dc.format.extent2457330 bytes-
dc.format.extent990621 bytes-
dc.format.extent2127786 bytes-
dc.format.extent1981493 bytes-
dc.format.extent1996135 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectการสื่อสารในครอบครัวen
dc.subjectยาบ้าen
dc.subjectยาเสพติดกับเยาวชนen
dc.subjectสื่อมวลชนen
dc.subjectจิตวิทยาวัยรุ่นen
dc.subjectนักเรียนมัธยมศึกษาen
dc.titleการสื่อสารในครอบครัว กับความรู้และทัศนคติเกี่ยวกับยาบ้าของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้น ในเขตกรุงเทพมหานครen
dc.title.alternativeFamily communication, knowledge and attitude toward amphetamines among the lower secondary school students in Bangkoken
dc.typeThesises
dc.degree.nameนิเทศศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineนิเทศศาสตรพัฒนาการes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorTanawadee.b@chula.ac.th-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Kwanjai_Pl_front.pdf1.11 MBAdobe PDFView/Open
Kwanjai_Pl_ch1.pdf1.14 MBAdobe PDFView/Open
Kwanjai_Pl_ch2.pdf2.4 MBAdobe PDFView/Open
Kwanjai_Pl_ch3.pdf967.4 kBAdobe PDFView/Open
Kwanjai_Pl_ch4.pdf2.08 MBAdobe PDFView/Open
Kwanjai_Pl_ch5.pdf1.94 MBAdobe PDFView/Open
Kwanjai_Pl_back.pdf1.95 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.