Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/75406
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสำเรียง เมฆเกรียงไกร-
dc.contributor.authorอนุพงษ์ ชำนาญการ-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะนิติศาสตร์-
dc.date.accessioned2021-09-05T04:49:39Z-
dc.date.available2021-09-05T04:49:39Z-
dc.date.issued2562-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/75406-
dc.descriptionเอกัตศึกษา (ศศ.ม)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2562en_US
dc.description.abstractด้วยองค์กรภาครัฐที่ควบคุมและกำกับดูแลการประกอบธุรกิจของสถาบันการเงินในประเทศ ไทย อาทิเช่น ธนาคารแห่งประเทศไทย สำนักงานคณะกรรมการก ากับหลักทรัพย์และตลาด หลักทรัพย์ (ก.ล.ต.) และสำนักงานป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน (ป.ป.ง.) ได้มีการปรับปรุง แก้ไขกฎหมาย ตลอดรวมทั้งกฎเกณฑ์ ประกาศ แนวปฏิบัติที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้สถาบันการเงินใน ประเทศไทยประกอบธุรกิจได้อย่างมีประสิทธิภาพปฏิบัติงานได้มาตรฐาน ถูกต้อง และเคร่งครัดมาก ขึ้น ผนวกกับปัจจุบันบริษัทผู้ประกอบธุรกิจสินเชื่อส่วนบุคคลภายใต้การกำกับดูแลของธนาคารแห่ง ประเทศไทย ได้เข้ามามีบทบาทในการพิจารณาและอนุมัติสินเชื่อส่วนบุคคลให้กับทั้งภาคธุรกิจและ ลูกค้ารายบุคคล โดยจากสถิติการปล่อยสินเชื่อ จัดเก็บและประมวลผลโดยธนาคารแห่งประเทศไทย มีแนวโน้มสูงขึ้นและมีบทบาทสำคัญต่อระบบเศรษฐกิจมากยิ่งขึ้น ธนาคารแห่งประเทศไทยอาศัย อำนาจตามพระราชบัญญัติสถาบันการเงิน จึงออกแนวปฏิบัติให้ธนาคารพาณิชย์มีการจัดตั้งหน่วยงาน กำกับดูแลการปฏิบัติงานตามกฎหมายและระเบียบข้อบังคับของทางการ (Compliance Unit) ขึ้น เพื่อทำหน้าที่ก ากับดูแลการปฏิบัติงานขององค์กร แต่ทั้งนี้พบว่าปัจจุบันบริษัทผู้ประกอบธุรกิจ ประเภทสินเชื่อบุคคลภายใต้การก ากับของธนาคารแห่งประเทศไทย บริษัทผู้ประกอบธุรกิจสินเชื่อ จำนำรถ และบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย หน่วยงานทางการที่กำกับดูแล กลุ่มธุรกิจดังกล่าวยังไม่มีการตรากฎหมาย และ/หรือประกาศ กฎเกณฑ์กำหนดให้มีการจัดตั้ง หน่วยงานหรือผู้ปฏิบัติหน้าที่กำกับดูแลการปฏิบัติงาน ซึ่งอาจส่งผลกระทบให้องค์กรอาจมีการก ากับ ดูแลการปฏิบัติงานด้านธุรกิจได้อย่างไม่รัดกุมตามกฎหมาย กฎ ระเบียบ ข้อบังคับและประกาศของ หน่วยงานทางการเกี่ยวข้อง โดยผู้วิจัยได้ท าการศึกษาและวิเคราะห์ข้อมูลจากการเปรียบเทียบหลัก กฎหมาย กฎเกณฑ์ ประกาศ ข้อบังคับต่างๆ ของประเทศไทยกับต่างประเทศอันเกี่ยวกับบทบาท หน้าที่ความรับผิดชอบของผู้ทำหน้าที่กำกับดูแลการปฏิบัติงาน และมาตรการทางกฎหมายที่เกี่ยวข้อง กับการควบคุมและกำกับดูแลวิชาชีพอื่นในสถาบันการเงินและบริษัทมหาชนจำกัดทั้งที่จดทะเบียนใน และนอกตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ได้ระบุถึงประเด็นหลัก รวมถึงข้อเสนอแนะเพื่อพัฒนาแนว ทางการในทำงานและวิชาชีพของเจ้าหน้าที่กำกับดูแลการปฏิบัติการในบริษัทผู้ประกอบธุรกิจสินเชื่อ ส่วนบุคคลภายใต้กำกับen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.58837/CHULA.IS.2019.145-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectสินเชื่อ -- กฎหมายและระเบียบข้อบังคับen_US
dc.subjectสถาบันการเงิน -- กฎหมายและระเบียบข้อบังคับen_US
dc.titleบทบาทหน้าที่และความรับผิดชอบของเจ้าหน้าที่กำกับดูแลการปฏิบัติงานใน บริษัทผู้ประกอบธุรกิจสินเชื่อส่วนบุคคลen_US
dc.typeIndependent Studyen_US
dc.degree.nameศิลปศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineกฎหมายเศรษฐกิจen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorไม่มีข้อมูล-
dc.subject.keywordสินเชื่อส่วนบุคคลภายใต้การกำกับen_US
dc.subject.keywordการปฏิบัติตามกฎหมายen_US
dc.subject.keywordเจ้าหน้าที่กำกับดูแลการปฏิบัติงานen_US
dc.subject.keywordสถาบันการเงินที่มิใช่ธนาคารen_US
dc.subject.keywordมาตรฐานวิชาชีพen_US
dc.identifier.DOI10.58837/CHULA.IS.2019.145-
Appears in Collections:Law - Independent Studies

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
6186182534.pdf1.17 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.