Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/75554
Title: | Nanoporous carbon membrane for CO₂ separation |
Other Titles: | เยื่อเลือกผ่านคาร์บอนที่มีขนาดรูพรุนระดับนาโน เพื่อใช้สำหรับการคัดแยกแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ |
Authors: | Apirak Treeratdilokkul |
Advisors: | Thanyalak Chaisuwan Sujitra Wongkasemjit |
Other author: | Chulalongkorn University. The Petroleum and Petrochemical College |
Advisor's Email: | thanyalak.c@chula.ac.th dsujitra@chula.ac.th |
Subjects: | Carbon dioxide Gases -- Separation คาร์บอนไดออกไซด์ ก๊าซ -- การแยก |
Issue Date: | 2012 |
Publisher: | Chulalongkorn University |
Abstract: | Polybenzoxazine xerogel membrane for gas separation was prepared via sol-gel synthesis and cost-effective ambient drying. After pyrolysis at 800 °C under nitrogen atmosphere, carbon xerogel was obtained. The Brunauer, Emmett, Teller (BET) surface area of the carbon xerogel membrane was approximately 360 m2/g. Activation of the carbon xerogels under CO2 atmosphere and thermal treatment at 900 °C was also investigated in order to compare gas separation performance. The BET surface area of the CO2 activated carbon xerogels increased approximately 2 times in comparison to the unactivated porous carbon film. On the other hand, the BET surface area of the heat-treated carbon xerogel film decreased to 110 m2/g due to the re-alignment of the pore structure of carbon. The gas separation measurement showed that polybenzoxazine-derived carbon xerogel exhibited good gas separation performance. It was also found that the gas separation selectivity could be modified by varying the surface treatment of the resulting porous carbon |
Other Abstract: | เยื่อเลือกผ่านที่ทําจากพอลีเบนซอกซาซีนซีโรเจลสำหรับการแยกแก๊สได้ถูกสังเคราะห์ ผ่านกระบวนการ โซ-เจล และกําจัดตัวทําละลายในบรรยากาศปกติ จากนั้นทําการเผาเยื่อเลือกผ่าน พอดีเบนซอกซาซีนที่อุณหภูมิ 800 องศาเซลเซียส ภายใต้บรรยากาศไนโตรเจน เพื่อให้ได้เยื่อเลือกผ่านคาร์บอนที่มีความเป็นรูพรุนสูง โดยมีพื้นที่ผิวเท่ากับ 360 ตารางเมตรต่อกรัม และทําการ พัฒนาลักษณะทางกายภาพ โดยใช้ความร้อนและใช้แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ ที่อุณหภูมิ 900 องศาเซลเซียส เพื่อเปรียบเทียบความสามารถ ในการแยกแก๊ส พบว่าพื้นที่ผิวของเยื่อเลือกผ่านที่ทำการพัฒนาลักษณะทางกายภาพด้วยแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ เพิ่มขึ้นถึงสองเท่า ในขณะที่พื้นที่ผิว ของเยื่อเลือกผ่านที่ทําการพัฒนาลักษณะทางกายภาพโดยใช้ความร้อน ลดลงเหลือเพียง 110 ตาราง เมตรต่อกรัมเนื่องมาจากเกิดการจัดเรียงตัวทางโครงสร้างขึ้นใหม่ของเยื่อเลือกผ่านคาร์บอน โดยมีลักษณะคล้ายกลาไฟต์ สําหรับความสามารถในการแยกแก๊สนั้นเยื่อเลือกผ่านคาร์บอนที่สังเคราะห์ จากพอลีเบนซอกซาซีนมีความสามารถในการแยกแก๊สคาร์บอนไดออกไซน์ได้ดี และเราพบว่า ความสามารถในการเลือกผ่านของเยื่อเลือกผ่าน สามารถปรับปรุง ได้โดยการพัฒนาลักษณะทาง กายภาพของเยื่อเลือกผ่านคาร์บอน |
Description: | Thesis (M.Sc.)--Chulalongkorn University, 2012 |
Degree Name: | Master of Science |
Degree Level: | Master's Degree |
Degree Discipline: | Polymer Science |
URI: | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/75554 |
Type: | Thesis |
Appears in Collections: | Petro - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Apirak_tr_front_p.pdf | หน้าปก สารบัญ และบทคัดย่อ | 252.28 kB | Adobe PDF | View/Open |
Apirak_tr_ch1_p.pdf | บทที่ 1 | 47.37 kB | Adobe PDF | View/Open |
Apirak_tr_ch2_p.pdf | บทที่ 2 | 342.56 kB | Adobe PDF | View/Open |
Apirak_tr_ch3_p.pdf | บทที่ 3 | 205.1 kB | Adobe PDF | View/Open |
Apirak_tr_ch4_p.pdf | บทที่ 4 | 1.01 MB | Adobe PDF | View/Open |
Apirak_tr_ch5_p.pdf | บทที่ 5 | 42.69 kB | Adobe PDF | View/Open |
Apirak_tr_back_p.pdf | บรรณานุกรมและภาคผนวก | 207.25 kB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.