Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/75605
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorSirirat Jitkarnka-
dc.contributor.authorSupattra Seng-eiad-
dc.contributor.otherChulalongkorn University. The Petroleum and Petrochemical College-
dc.date.accessioned2021-09-20T07:34:19Z-
dc.date.available2021-09-20T07:34:19Z-
dc.date.issued2015-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/75605-
dc.descriptionThesis (M.S.)--Chulalongkorn University, 2015en_US
dc.description.abstractDue to the fact that aromatic compounds and hetero-atoms such as nitrogen are present, tire-derived oil (TDO) is not suitable for direct uses in a vehicle engine. Additionally, char remaining from pyrolysis is highly obtained, but it has only a few applications. Therefore, the objectives were to (1) design catalysts for removal of heavy compounds in TDO, (2) study the effect of pore size and pore structure of selected catalysts, (3) upgrade pyrolysis char for using as catalyst, and (4) identify N-containing compounds for better understanding in further treatment. The result indicated that aromatic compounds (size 8-16 Å by average) were mainly in gas oil and vacuum gas oil fractions. The selected catalysts, like mesoporous materials, were thus suggested to handle these compounds. Subsequently, mesoporous Al-MCM-41 (33.1 Å) and Al-SBA-15 (60.5 Å) were used to study the effect of pore size whereas mesoporous Si-MCM-41 (hexagonal structure) and Si-MCM-48 (cubic structure) were used to study the effect of pore structure. As a result, the pore size of 33.1 Å and cubic structure gave better removal of heavy compounds, petrochemical productivity, and sulfur removal. Furthermore, pyrolysis chars With and without treatment well performed on improving lighter fractions from conversion of heavy portions. Moreover, identification of nitrogenous compounds in TDO was successfully accomplished using an effective GCxGC/TOF-MS. The detected species were classified into 10 groups. Interestingly, diazabicycloheptenes is a new group, firstly detected in TDO, owing to the high performances of GCxGC/TOF-MS on separation and detection of highly-complex mixtures.-
dc.description.abstractalternativeด้วยเหตุผลที่ว่าการมีสารประกอบแอโรแมติกส์และวิวิธพันธ์อะตอม เช่น ไนโตรเจนเป็นองค์ประกอบในน้ำมัน ดังนั้นน้ำมันที่ได้จากกระบวนการไพโรไลซิสจึงยังไม่เหมาะต่อการนำไปใช้โดยตรงกับยานยนต์ ยิ่งไปกว่านั้นกระบวนการไพโรไลซิสยังสามารถผลิตชาร์ได้ในปริมาณมากแต่มีการนำไปประยุกต์ใช้น้อย ดังนั้นจุดประสงค์ของงานนี้คือเพื่อที่จะ (1) ออกแบบตัวเร่งปฏิกิริยาสำหรับการกำจัดสารไฮโดรคาร์บอนหนัก, (2) เพื่อที่จะศึกษาอิทธิพลของขนาดรูพรุนและโครงสร้างของตัวเร่งปฏิกิริยาที่ถูกเลือกมาใช้, (3) เพื่อที่จะเพิ่มคุณสมบัติของไพโรไลชิสชาร์สำหรับใช้เป็นตัวเร่งปฏิกิริยา และ (4) เพื่อที่จะระบุรูปพรรณสารประกอบไนโตรเจนเพื่อสร้างความเข้าใจที่มากขึ้นในการปรับปรุงคุณภาพต่อไป จากผลการทดลองแสดงให้เห็นว่าสารประกอบแอโรแมติกส์ (ขนาด 8-16 อังสตรอม โดยเฉลี่ย) เป็นองค์ประกอบหลักในน้ำมันเตาและน้ำมันเตา สุญญากาศ ดังนั้นตัวเร่งปฏิกิริยา เช่น วัสดุที่มีรูพรุนขนาดกลางจึงถูกแนะนำเพื่อใช้จัดการกับสารประกอบเหล่านี้ หลังจากนั้นวัสดุที่มีรูพรุนขนาดกลางอลูมินาเอ็มซีเอ็ม-41 (รูพรุน 33.1 อังสตรอม) และอลูมินาเอสบีเอ-15 (รูพรุน 60.5 อังสตรอม) จึงถูกนำมาศึกษาอิทธิพลของขนาดรูพรุน ในขณะที่ซิลิกาเอ็มซีเอ็ม-41 (โครงสร้างแบบหกเหลี่ยม) และ ซิลิกาเค็มซีเอ็ม-48 (โครงสร้างแบบลูกบาศก์) ถูกนำมาศึกษาอิทธิพลของโครงสร้าง ผลลัพธ์ที่ได้พบว่า รูพรุนขนาด 33.1 อังสตรอม และ โครงสร้างแบบลูกบาศก์ สามารถใช้กำจัดสารไฮโดรคาร์บอนหนัก เพิ่มผลผลิตปิโตรเคมีและกำจัดซัลเฟอร์ได้ดีกว่า นอกจากนี้ไพโรไลซิสชาร์ทั้งที่บำบัดและไม่บำบัดยังมีประสิทธิภาพในการปรับปรุงสารประกอบเบาจากการเปลี่ยนแปลงของสารประกอบหลักได้เป็น อย่างดี นอกจากนียังใ!ระสบความสำเร็จในการระบุรูปพรรณของสารประกอบไนโตรเจนที่มีอยู่ในน้ำมันโดยใช้ GCxGC/TOF-MS โดยสารประกอบที่ถูกตรวจจับได้ถูกแบ่งออกเป็น 10 กลุ่ม สิ่งที่น่าสนใจก็คือ ไดอะซาไบไซโคลเฮปทีนส์ เป็นไนโตรเจนกลุ่มใหม่ที่สามารถตรวจวัดได้ครั้งแรกในน้ำมันที่ได้จากกระบวนการไพโรไลซิส อันเนื่องมาจากความมีประสิทธิภาพสูงของ GCxGC/TOF-MS ในการแยกและตรวจวัดสารที่มีองค์ประกอบซับซ้อนมาก ๆ ได้-
dc.language.isoenen_US
dc.publisherChulalongkorn Universityen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2015.1451-
dc.rightsChulalongkorn Universityen_US
dc.subjectPorous materials-
dc.subjectCatalysts-
dc.subjectPyrolysis-
dc.subjectวัสดุรูพรุน-
dc.subjectตัวเร่งปฏิกิริยา-
dc.subjectการแยกสลายด้วยความร้อน-
dc.titleMesoporous MCM-41, MCM-48, SBA-15, and pyrolysis char as catalysts for catalytic pyrolysis of waste tireen_US
dc.title.alternativeการใช้วัสดุที่มีรูพรุนขนาดกลางเอ็มซีเอ็ม-41, เอ็มซีเอ็ม-48, เอสบี เอ-15, และไพโรไลซิสชาร์เป็นตัวเร่งปฏิกิริยาสำหรับกระบวนการไพโรไลซิสยางหมดสภาพen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameMaster of Scienceen_US
dc.degree.levelMaster's Degreeen_US
dc.degree.disciplinePetrochemical Technologyen_US
dc.degree.grantorChulalongkorn Universityen_US
dc.email.advisorSirirat.J@Chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2015.1451-
Appears in Collections:Petro - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Supattra_se_front_p.pdfCover and abstract1.14 MBAdobe PDFView/Open
Supattra_se_ch1_p.pdfChapter 1656.59 kBAdobe PDFView/Open
Supattra_se_ch2_p.pdfChapter 21.54 MBAdobe PDFView/Open
Supattra_se_ch3_p.pdfChapter 31.01 MBAdobe PDFView/Open
Supattra_se_ch4_p.pdfChapter 41.1 MBAdobe PDFView/Open
Supattra_se_ch5_p.pdfChapter 51.52 MBAdobe PDFView/Open
Supattra_se_ch6_p.pdfChapter 61.67 MBAdobe PDFView/Open
Supattra_se_ch7_p.pdfChapter 71.41 MBAdobe PDFView/Open
Supattra_se_ch8_p.pdfChapter 81.92 MBAdobe PDFView/Open
Supattra_se_ch9_p.pdfChapter 9661.86 kBAdobe PDFView/Open
Supattra_se_back_p.pdfReference and appendix2.56 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.