Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/76071
Title: การออกแบบและการรับรู้ในการสื่อสารรณรงค์เพื่อสร้างความตระหนักในบุคคลที่มีภาวะออทิซึม ผ่านโครงการ see amazing in all children initiative
Other Titles: Message design and perception in autism awareness campaign communication via see amazing in all children initiative
Authors: ธิติ พรโกศลสิริเลิศ
Advisors: ฐิตินัน บุญภาพ คอมมอน
Other author: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะนิเทศศาสตร์
Subjects: การสื่อสาร -- แง่สังคม
ออทิซึม
Communication -- Social aspects
Autism
Issue Date: 2563
Publisher: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Abstract: การวิจัยในครั้งนี้มีจุดประสงค์เพื่อ 1) วิเคราะห์เนื้อหาในสื่อของโครงการ See Amazing in All Children 2) วิเคราะห์การออกแบบสาร 3) ศึกษาการรับรู้สื่อของโครงการ และ 4) ศึกษาทัศนคติของผู้ชม การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพใช้การวิเคราะห์เนื้อหาและการสัมภาษณ์เชิงลึก ผู้ให้ข้อมูลหลักได้แก่ นักวิชาชีพและผู้ปกครองของบุคคลที่มีภาวะออทิซึม ผลการวิจัยพบว่า 1) เนื้อหาทั่วไปเกี่ยวกับบุคคลที่มีภาวะออทิซึม ได้แก่ ลักษณะพฤติกรรม ครอบครัว และการเตรียมความพร้อม 2) ความหลากหลายทางระบบประสาท และ 3) ความครอบคลุมทางสังคม ได้แก่ การสร้างพลังและการมีส่วนร่วมในสังคม 4) การวางโครงสร้างสารแบบอุปนัย นิรนัย และนิรนัยผสมอุปนัย 5) การลำดับสารแบบไปสู่จุดสูงสุด ย้อนจุดสูงสุด และแบบพีระมิด 6) จุดจูงใจด้วยรางวัล ด้วยแรงจูงใจ ทางอารมณ์ ได้แก่ อบอุ่น ตลกขบขัน สนุกสนาน กลัว และผสมผสาน 7) การวางกรอบทางบวกและการวางกรอบทางบวกและลบ ผลการสัมภาษณ์ 1) ผู้ให้ข้อมูลหลักสามารถรับรู้เนื้อหา การออกแบบ และยังกล่าวถึงการนำสื่อไปใช้ประโยชน์ 2) สามารถเข้าใจสื่อของโครงการ จดจำได้ รับรู้อารมณ์จากสื่อ และเห็นประโยชน์ของพฤติกรรม 3) พ่อแม่ผ่านกระบวนการในการยอมรับลูก 4) บุคคลในสังคมมีทั้งหลายกลุ่มที่ยังไม่เข้าใจ ให้การยอมรับ และมีทัศนคติทางลบ 5) รายงานว่าสื่อของโครงการมีส่วนช่วยในการเปลี่ยนแปลงทัศนคติ 6) กลยุทธ์การรณรงค์ด้วยการสร้างความตระหนักและการทำให้เป็นเรื่องปกติ
Other Abstract: The current research objectives were 1) to analyze the content of See Amazing in All Children initiative, 2) to study audiences’ perception, 3) to analyze message design, 4) to study audiences’ attitude. Qualitative methodology with content analysis, and key informant in-dept interview with professions and parents, were applied. Research results 1) general contents: autism's characteristics, family, and preparation, 2) neurodiversity paradigm 3) social inclusion: empowering and inclusion, 4) message organization: deductive, inductive, and inductive-deductive, 5) messages order: climax, anticlimax, and pyramidal order, 6) message appeals: reward, motivational, and emotional, e.g., warmth, humor, fun, fear, and hybrid. 7) message framing: positive and positive-negative hybrid. Interview results 1) audiences perceptions: initiative contents, media design, and media function. 2) comprehension, perceived retention, perceived emotion, and target behavior gain. 3) parents experienced stages of autism acceptance. 4) public attitudes were ignorant, acceptant, and hostile. 5) audiences stated that initiative can influence one’s attitude toward autism. 6) campaign strategy is to generalize of autism awareness.
Description: วิทยานิพนธ์ (นศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2563
Degree Name: นิเทศศาสตรมหาบัณฑิต
Degree Level: ปริญญาโท
Degree Discipline: นิเทศศาสตร์
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/76071
URI: http://doi.org/10.58837/CHULA.THE.2020.776
metadata.dc.identifier.DOI: 10.58837/CHULA.THE.2020.776
Type: Thesis
Appears in Collections:Comm - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
6184682628.pdf6.7 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.