Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/77581
Title: การเตรียมพีเอ็มเอ็มเอ-ซิลิกานาโนคอมพอสิตผ่านราฟต์อิมัลชันพอลิเมอไรเซชันและไฮบริดเมมเบรนสำหรับเพอร์แวพอเรชัน
Other Titles: Preparation of PMMA-SILICA nanocomposites VIA RAFT emulsion polymerization and Hybrid membrane for pervaporation
Authors: เกื้อชนม์ ศรีสัมฤทธิ์
Advisors: ศิริลักษณ์ พุ่มประดับ
ภัทรพรรณ ประศาสน์สารกิจ
Other author: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์
Advisor's Email: Sirilux.P@Chula.ac.th
ppattara@chula.ac.th
Subjects: โพลิเมทิลเมทาคริเลต
ซิลิกา
นาโนคอมพอสิต
อิมัลชันโพลิเมอไรเซชัน
เพอร์เวเพอเรชัน
Polymethylmethacrylate
Silica
Nanocomposites (Materials)
Emulsion polymerization
Pervaporation
Issue Date: 2562
Publisher: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Abstract: พีเอ็มเอ็มเอ-ซิลิกานาโนคอมพอสิตอิมัลชันถูกสังเคราะห์ผ่านราฟต์อิมัลชันพอลิเมอไรเซชันควบคู่กับเทคนิคดิฟเฟอเรนเชียลไมโครอิมัลชันพอลิเมอไรเซชัน งานวิจัยนี้ศึกษาผลของความเข้มข้นของสารมาโคร-ราฟต์ และปริมาณอนุภาคซิลิกา ต่อร้อยละการเปลี่ยนมอนอเมอร์ ขนาดอนุภาคเฉลี่ย และประสิทธิภาพการห่อหุ้มซิลิกา พบว่า พีเอ็มเอ็มเอ-ซิลิกา นาโนคอมพอสิตมีค่าร้อยละการเปลี่ยนมอนอเมอร์ที่สูง ขนาดอนุภาคเฉลี่ยมีค่า 57.6 นาโนเมตร ที่ภาวะการเติมอนุภาคซิลิการ้อยละ 10 โดยน้ำหนักของมอนอเมอร์ ภาพจากกล้องจุลทรรศน์ อิเล็กตรอนแบบส่องผ่าน แสดงลักษณะทางสัณฐานวิทยาของพีเอ็มเอ็มเอ-ซิลิกานาโนคอมพอสิตแสดง โครงสร้างอนุภาคแกน-เปลือกระดับนาโน จากนั้นเตรียมยางธรรมชาติ/พีเอ็มเอ็มเอ- ซิลิกาไฮบริดเมมเบรนด้วยวิธีผสมโดยตรง ผลที่ได้แสดงให้เห็นความสามารถ ในการพัฒนาสมบัติเชิงกลและสมบัติเชิงความร้อนของพีเอ็มเอ็มเอ-ซิลิกา นาโนคอมพอสิตในไฮบริดเมมเบรน และมากไปกว่านั้นการประยุกต์ใช้ไฮบริด เมมเบรนในกระบวนการเพอร์แวพอเรชัน อนุภาคพีเอ็มเอ็มเอ-ซิลิกานาโนคอมพอสิต สามารถเพิ่มค่าการซึมผ่านของน้ำและประสิทธิภาพการแยกใน ยางธรรมชาติ/พีเอ็มเอ็มเอ-ซิลิกาไฮบริดเมมเบรน โดยการปรับปรุงพื้นผิวของเมมเบรน ยางธรรมชาติให้มีค่าสมบัติชอบน้ำสูงขึ้น ดังนั้นพีเอ็มเอ็มเอ-ซิลิกานาโนคอมพอสิตมี ศักยภาพที่จะนำไปใช้เป็นสารตัวเติมประสิทธิภาพสูงสำหรับเทคโนโลยีการแยกสาร
Other Abstract: PMMA-SiO₂ nanocomposite emulsion was successfully synthesized via a combining reversible addition-fragmentation chain-transfer (RAFT) emulsion polymerization and differential microemulsion polymerization (DMP). The effects of macro-RAFT agent concentration and silica loading on the monomer conversion, average particle size and silica encapsulation efficiency were investigated. The PMMA-SiO₂ nanocomposites with high monomer conversion and average particle size of 57.6 nm were obtained at a low silica loading (10% by weight of monomer). The TEM morphology of PMMA-SiO₂ nanocomposites exhibited the nanosized core-shell structure. The NR/PMMA-SiO₂ membrane was prepared by a direct blending, resulting in the improvement of thermal and mechanical properties of PMMA-SiO₂ nanocomposites in hybrid membrane. Moreover, in pervaporation process application, the PMMA-SiO₂ nanocomposites could improve the water permeability with great separation efficiency in hybrid membrane by increasing the hydrophilicity of NR phase. Thus, the PMMA-SiO₂ nanocomposites show the great potential to be used as effective filler in membrane for high performance separation technology.
Description: วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2562
Degree Name: วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต
Degree Level: ปริญญาโท
Degree Discipline: เคมีเทคนิค
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/77581
URI: http://doi.org/10.58837/CHULA.THE.2019.559
metadata.dc.identifier.DOI: 10.58837/CHULA.THE.2019.559
Type: Thesis
Appears in Collections:Sci - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
6071913323.pdf3.19 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.