Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/77844
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ชัยยุทธ ธัญพิทยากุล | - |
dc.contributor.advisor | วรรณา ดุลยธัญ | - |
dc.contributor.author | สมเกียรติ เกียรติกิตติกุล | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย | - |
dc.date.accessioned | 2021-11-23T03:20:55Z | - |
dc.date.available | 2021-11-23T03:20:55Z | - |
dc.date.issued | 2534 | - |
dc.identifier.isbn | 9745785296 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/77844 | - |
dc.description.abstract | งานวิจัยนี้ได้ศึกษาภาวะในการเตรียมแป้งมันสำปะหลังดัดแปรด้วยปฏิกิริยา cross-linking และ oxidation ในขั้นแรกศึกษาภาวะในการดัดแปรแป้งมันสำปะหลังธรรมชาติด้วยปฏิกิริยา cross-linking โดย ใช้ sodium trimetaphosphate (Na₃P₃O₉) ที่ภาวะ pH 11.00 ± 0.10 และอุณหภูมิ 50 ± 2℃ พบว่า ความเข้มข้นของ Na₃P₃O₉ และเวลาของปฏิกิริยาเป็นตัวแปรที่มีปฏิสัมพันธ์ต่อความหนืด และผลต่างระหว่าง ความหนืดของแป้งเปียกใน heating-cooling cycle (P ≤ 0. 05) เมื่อวัดด้วยเครื่อง Brabender Visco- Amylograph กล่าวคือเมื่อเพิ่มความเข้มข้นของ Na₃P₃O₉ (ร้อยละ 0.20-0.30 โดยน้ำหนักแป้งแห้ง) กับ เวลาของปฏิกิริยา (4-6 ชั่วโมง) ความหนืดและผลต่างระหว่างความหนืดของแป้งเปียกใน heating-cooling cycle จะลดลง นอกจากนี้ยังทำให้การละลาย และกำลังการพองตัวของแป้งมันสำปะหลังเชื่อมขวางลดลงอีกด้วย นั่นคือแป้งมันสำปะหลังเชื่อมขวางที่ได้มีเสถียรภาพของความหนืดมากขึ้น ในขั้นต่อมาศึกษาภาวะในการดัดแปรแป้งมันสำปะหลังเชื่อมขวางซึ่งคัดเลือกจากแป้งมันสำปะหลังเชื่อมขวางที่มีเสถียรภาพความหนืดสูงสุดใน heating-cooling cycle ด้วยปฏิกิริยา oxidation โดยใช้ sodium hypochlorite (NaOCI) ที่ภาวะ PH 9.00 ± 0.10 และอุณหภูมิห้อง พบว่าแป้งมันสำปะหลัง ดัดแปรที่ได้มีความหนืดที่เสถียรและสูงกว่าแป้งมันสำปะหลังเชื่อมขวางทั้งนี้ความเข้มข้นของ NaOCI (ร้อยละ 3.00-5.00 โดยน้ำหนักแป้งแห้ง) และเวลาของปฏิกิริยา (4-6 ชั่วโมง) เป็นตัวแปรที่มีผลทำให้ความหนืด และผลต่างระหว่างความหนืดของแป้งเปียกใน heating-cooling cycle ลดลง (P ≤ 0. 05) แป้งมันสำปะหลังดัดแปรที่ได้จะมีเสถียรภาพของความหนืดดีใน heating-cooling cycle เกิดการคืนตัวน้อย และ สามารถอุ้มน้ำได้มากขึ้นเป็นผลให้การละลายและกำลังการพองตัวเพิ่มขึ้น นอกจากนี้ยังพบว่าปริมาณแป้งที่ใช้มีผลต่อเสถียรภาพของความหนืดโดยเมื่อปริมาณแป้งมันสำหลังธรรมชาติน้อยกว่าหรือเท่ากับร้อยละ 5.00 (โดยน้ำหนักแป้งแห้ง) แป้งเปียกจะมีเสถียรภาพของความหนืดใน heating-cooling cycle สูง ในขณะที่แป้งมันสำปะหลังดัดแปรสามารถใช้ได้ถึงร้อยละ 8.00 และแป้งเปียกยังมีเสถียรภาพของความหนืดดี ในระหว่างเก็บที่อุณหภูมิ 25℃ เป็นเวลา 3 วัน | - |
dc.description.abstractalternative | This research studied the modified conditions for the preparation of modified tapioca starch by cross-linking and oxidation reactions, Tapioca starch (40% w/v) was first modified by cross-linking with sodium trimetaphosphate (Na₃P₃O₉) at pH 11.00 ± 0.10 and 50 ± 2℃. It was found that both concentration of Na₃P₃O₉ and reaction time had significant interaction effect (P ≤ 0. 05) on the Brabender viscosity as well as the difference of viscosity of paste in heating-cooling cycle. Increasing concentration of Na₃P₃O₉ (0.20 to 0.30% by weight of dry starch) and reaction time (4 to 6 hrs.) decreased the Brabender viscosity and the difference of viscosity of paste in heating-cooling cycle. The cross-linked tapioca starch was stable in heating-cooling cycle and had less solubility and swelling power than the native tapioca starch. The cross – linked tapioca starch which had the highest paste stability in heating-cooling cycle was chosen for modification by oxidation reaction. The cross-linked tapioca starch (40% w/v) was modified by suing sodium hypochlorite ( NaOCI ) at pH 9.00 ± 0.10 and at room temperature. It was found that the modified tapioca starch. Both concentration of NaOCI and reaction time had significant effect (P ≤ 0. 05) on Brabender viscosity and the difference of viscosity of paste in heating – cooling cycle. Increasing concentration of NaOCI (3.00 to 5.00 % by weight of dry starch) and reaction time (4 to 6 hrs.) reduced the paste viscosity while increased solubility and swelling power. The double modified tapioca starch had high hot paste stability, less retrogadation and was able to absorb more water. Concentration of starch also had an effect on the stability of paste in heating – cooling cycle. It was found that ≤ 5.00% (w/v) native tapioca starch would give good paste stability while up to 8.00 % (w/v) of the double modified tapioca starch could be used to give a paste with good stability when stored at 25 ℃ for 3 days. | - |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.relation.uri | http://doi.org/10.14457/CU.the.1991.114 | - |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.subject | แป้งมันสำปะหลัง | en_US |
dc.subject | ออกซิเดชัน | en_US |
dc.subject | Tapioca starch | en_US |
dc.subject | Oxidation | en_US |
dc.title | การดัดแปรแป้งมันสำปะหลังด้วยวิธีสร้างพันธะเชื่อมขวางและออกซิไดซ์ | en_US |
dc.title.alternative | Modification of tapioca strach by cross-linking and oxidation | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต | en_US |
dc.degree.level | ปริญญาโท | en_US |
dc.degree.discipline | เทคโนโลยีทางอาหาร | en_US |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.identifier.DOI | 10.14457/CU.the.1991.114 | - |
Appears in Collections: | Grad - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Somkiat_ki_front_p.pdf | หน้าปกและบทคัดย่อ | 1.03 MB | Adobe PDF | View/Open |
Somkiat_ki_ch1_p.pdf | บทที่ 1 | 645.64 kB | Adobe PDF | View/Open |
Somkiat_ki_ch2_p.pdf | บทที่ 2 | 1.76 MB | Adobe PDF | View/Open |
Somkiat_ki_ch3_p.pdf | บทที่ 3 | 804.73 kB | Adobe PDF | View/Open |
Somkiat_ki_ch4_p.pdf | บทที่ 4 | 2.26 MB | Adobe PDF | View/Open |
Somkiat_ki_ch5_p.pdf | บทที่ 5 | 699.93 kB | Adobe PDF | View/Open |
Somkiat_ki_back_p.pdf | บรรณานุกรมและภาคผนวก | 1.01 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.