Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/7846
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอนุกัลย์ อิศรเสนา ณ อยุธยา-
dc.contributor.authorรัชนี นันทวัฒนาศิริชัย-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.coverage.spatialไทย-
dc.coverage.spatialพิษณุโลก-
dc.date.accessioned2008-08-25T02:12:08Z-
dc.date.available2008-08-25T02:12:08Z-
dc.date.issued2540-
dc.identifier.isbn9746378406-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/7846-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2540en
dc.description.abstractศึกษาระบบรถโดยสารประจำทางในเขตเมืองพิษณุโลก โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้ทราบถึงโครงข่าย ลักษณะการให้บริการ ค่าใช้จ่ายในการดำเนินการระบบรถโดยสารประจำทาง ปริมาณการเดินทางโดยรถโดยสารประจำทาง ประสิทธิภาพในการให้บริการ ระดับความพึงพอใจของผู้เดินทางที่ใช้รถโดยสารประจำทาง และผู้เดินทางที่ใช้รถโดยสารประเภทอื่นที่มีต่อระบบรถโดยสารประจำทาง รวมทั้งเสนอแนะแนวทางในการให้บริการระบบรถโดยสารประจำทาง (ถ้ามี) ระบบรถโดยสารประจำทางในเขตเมืองพิษณุโลกดำเนินการโดยผู้ประกอบการรายเดียว คือ บริษัทพิษณุโลกบริการ จำกัด โดยใช้รถขนาด 30 ที่นั่ง จำนวน 70 คัน ประกอบด้วยรถปรับอากาศ 28 คัน และที่เหลือ 42 คัน เป็นรถธรรมดา โดยให้บริการทั้งหมด 13 เส้นทาง ผลที่ได้จากการศึกษาสามารถแบ่งออกได้ดังนี้ คือ (1) สภาพการดำเนินการ โดยให้บริการในเมืองและจากชุมชนชานเมืองเข้ามาในเมือง ด้วยความเร็วในเมืองช้ากว่าชานเมืองประมาณ 15 กม./ชม. ความถี่และจำนวนรถที่ให้บริการในเมืองจะสูงกว่า และมีการรักษาเวลาในการปล่อยรถค่อนข้างเคร่งครัด เมื่อเปรียบเทียบกับสายชานเมือง ป้ายรถโดยสารประจำทางไม่ชัดเจนและมีระยะห่างกันไม่แน่นอน (2) ผู้เดินทาง จำนวนผู้โดยสารประมาณ 36,000 คน/วัน ส่วนมากเป็นนักเรียน/นักศึกษาร้อยละ 44 ที่เหลือเป็นอาชีพอื่นที่มีสัดส่วนใกล้เคียงกันประมาณร้อยละ 8 ระยะในการเดินทางประมาณ 3.0 กม. และไม่มีการต่อรถ ผู้เดินทางโดยรถโดยสารประจำทาง ส่วนมากจะมีทัศนคติที่ค่อนข้างดีต่อระบบรถโดยสารประจำทาง ในแง่ของระยะเวลาความถี่และความสม่ำเสมอในการให้บริการ ความปลอดภัย จำนวนครั้งที่ใช้ต่อรถ ความสะดวกสบาย ความสะอาด และราคาต่อโดยสาร ขณะเดียวกันผู้เดินทางที่ใช้รถโดยสารประเภทอื่นมีทัศนคติที่ดีเช่นเดียวกัน หากแต่ด้วยเหตุผลของความสะดวกสบาย ความคล่องตัว และสถานภาพทางสังคม ทำให้พวกเขาไม่หันมาใช้รถโดยสารประจำทาง (3) ผู้ประกอบการ มีกำไรในการดำเนินการและพยายามที่จะรักษาระดับการให้บริการ ให้คงที่หรือดียิ่งขึ้น การให้บริการระบบรถโดยสารประจำทาง ในเมืองพิษณุโลกนับว่ามีประสิทธิภาพ สามารถใช้เป็นตัวแบบสำหรับเมืองอื่นๆ ที่มีขนาดและโครงสร้างของระบบรถโดยสารสาธารณะที่คล้ายคลึงกันen
dc.description.abstractalternativeTo assess the operation of the public bus system in Phitsanulok town in terms of routing, service characteristic, operating costs, efficiency, passenger and non-passenger attitudes towards the services where upon suggestions for improvement if applicable, will be made. In Phitsanulok, the Phitsanulok Bus Co. Ltd. is a sole bus operator with a fleet of seventy 30-seater buses of which 28 are air-conditioning and the remaining 42 are ordinary buses operating on 13 routes. The results of the study can be grouped in three (1) Operating characteristics: there appears to be two distinctive operations, one within the town itself and the other as feeder from outlying communities. The frequencies and number of services within the town are greater than of the latter, while speed is about 15 km/hr slower. Bus stops are not prominent and irregularly spaced. (2) Passengers-about 36,000 pax/day use the bus with average traveling distance of 3.0 km with minimal transference. Their main occupations of, about 44 percent is student while the rests, about 8 percent of each are shared equally amongst the others. Their attitudes towards the services in terms of times, frequency, regularity, safety, transference, cleanliness and fares are generally good while non-bus users perceive some goodness in the services, but due to lack of comfort, convenience and social status, prefer not to use the service. (3) As for the bus operator, the services are making profit and to remain profitable, they are trying to, at least, sustaining the standard of services if not improving them. By and large, the bus services in Phitsanulok can very well be applicable to other town with simolar size and geographical identity.en
dc.format.extent560570 bytes-
dc.format.extent403256 bytes-
dc.format.extent672922 bytes-
dc.format.extent1040004 bytes-
dc.format.extent739642 bytes-
dc.format.extent1186691 bytes-
dc.format.extent482209 bytes-
dc.format.extent3606410 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectรถประจำทาง -- ไทย -- พิษณุโลกen
dc.subjectบริการรถประจำทาง -- ไทย -- พิษณุโลกen
dc.titleระบบรถโดยสารประจำทางในเขตเมืองพิษณุโลกen
dc.title.alternativeBuses system in Phitsanuloken
dc.typeThesises
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineวิศวกรรมโยธาes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorfceais@hotmail.com, Anukalya.I@chula.ac.th-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Ruschanee_Nu_front.pdf547.43 kBAdobe PDFView/Open
Ruschanee_Nu_ch1.pdf393.8 kBAdobe PDFView/Open
Ruschanee_Nu_ch2.pdf657.15 kBAdobe PDFView/Open
Ruschanee_Nu_ch3.pdf1.02 MBAdobe PDFView/Open
Ruschanee_Nu_ch4.pdf722.31 kBAdobe PDFView/Open
Ruschanee_Nu_ch5.pdf1.16 MBAdobe PDFView/Open
Ruschanee_Nu_ch6.pdf470.91 kBAdobe PDFView/Open
Ruschanee_Nu_back.pdf3.52 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.