Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/7853
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorคัดนางค์ มณีศรี-
dc.contributor.authorอนุรักษ์ แท่นทอง-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะจิตวิทยา-
dc.date.accessioned2008-08-25T02:57:39Z-
dc.date.available2008-08-25T02:57:39Z-
dc.date.issued2548-
dc.identifier.isbn9741419821-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/7853-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2548en
dc.description.abstractศึกษาอิทธิพลของรูปแบบความผูกพันที่มีต่อการเกิดความดึงดูดใจระหว่างบุคคล ผู้เข้าร่วมการวิจัยเป็นนิสิต นักศึกษา ระดับปริญญาตรี จำนวน 416 คน ถูกจำแนกว่ามีรูปแบบความผูกพันแบบมั่นคงหรือแบบหมกมุ่น หรือแบบหวาดกลัว หรือแบบไม่สนใจ แล้วถูกสุ่มเข้ารับเงื่อนไขการทดลองเงื่อนไขใดเงื่อนไขหนึ่งจาก 16 เงื่อนไข ผู้เข้าร่วมการวิจัยอ่านสถานการณ์คู่รักสมมติ ซึ่งถูกออกแบบมาเพื่อแสดงถึงรูปแบบของพฤติกรรม ความสัมพันธ์แบบโรแมนติก 1 ใน 4 รูปแบบ ตามรูปแบบความผูกพันในวัยผู้ใหญ่ และประเมินความดึงดูดใจที่มีต่อคู่รัก ผลการวิจัยพบว่า 1. สมมติฐานรูปแบบความผูกพันแบบมั่นคงได้รับการสนับสนุน คู่รักที่มีรูปแบบความผูกพันแบบมั่นคง ถูกผู้ที่มีรูปแบบความผูกพันแบบมั่นคง แบบหมกมุ่น แบบหวาดกลัว และแบบไม่สนใจ ประเมินว่ามีความดึงดูดใจมากที่สุด (p<.05) 2. สมมติฐานความคล้ายคลึงกันของรูปแบบความผูกพันได้รับการสนับสนุน บุคคลประเมินคู่รักที่มีรูปแบบความผูกพันคล้ายคลึงกันกับคู่รัก (P<.05) 3. สมมติฐานรูปแบบความผูกพันที่มีลักษณะเติมเต็มซึ่งกันและกัน ไม่ได้รับการสนับสนุนผู้ที่มีรูปแบบความผูกพันแบบมั่นคง ไม่ได้ประเมนคู่รักที่มีรูปแบบความผูกพันแบบหวาดกลัวว่า มีความดึงดูดใจสูงกว่าคู่รักที่มีรูปแบบความผูกพันแบบมั่นคง แบบหมกมุ่น และแบบไม่สนใจ (p<.05) ผู้ที่มีรูปแบบความผูกพันแบบหมกมุ่น ไม่ได้ประเมินคู่รักที่มีรูปแบบความผูกพันแบบไม่สนใจว่า มีความดึงดูดใจสูงกว่าคู่รักที่มีรูปแบบความผูกพันแบบมั่นคง แบบหมกมุ่น และแบบหวาดกลัว (p<.05)en
dc.description.abstractalternativeTo examine the effect of attachment styles on interpersonal attraction. Four-hundred and sixteen undergraduate students were classified into one of four attachment styles: secure, preoccupied, fearful, and dismissing. Then they were randomly assigned to one of 16 experimental conditions. They read hypothetical romantic partner scenario, which were designed to capture the pattern of romantic relationship behaviors prototypical of one of the four adult attachment styles and rated their attraction to the romantic partner. Results show that 1. Attachment security hypothesis is supported : The secure partner is rated as most attractive by secure, preoccupied, fearful, and dismissing individuals (p<.05). 2. Self-similarity hypothesis is supported : Individuals rate the romantic partner who has similar attachment style as more attractive than do individuals who do not share similar attachment styles with that romantic partner (p<.05) 3. Complementarity hypothesis is not supported : secure individuals do not rate fearful partner as more attractive than secure, preoccupied, and dismissing partner (p<.05) ; preoccupied individuals do not rate dismissing partner as more attractive than secure, preoccupied, and fearful partner (p<.05)en
dc.format.extent1566110 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectความดึงดูดใจระหว่างบุคคลen
dc.subjectความผูกพันen
dc.titleความดึงดูดใจระหว่างบุคคลและรูปแบบความผูกพัน : รูปแบบที่คล้ายคลึงกับตน รูปแบบที่เติมเต็มซึ่งกันและกัน และรูปแบบความผูกพันแบบมั่นคงen
dc.title.alternativeInterpersonal attraction and attachment styles : self similarity, complementarity, and attachment securityen
dc.typeThesises
dc.degree.nameศิลปศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineจิตวิทยาสังคมes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorKakanang.M@Chula.ac.th-
Appears in Collections:Psy - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Anurak_Ta.pdf1.53 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.