Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/78782
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวโรชา มหาชัย-
dc.contributor.advisorบุบผา พรธิสาร-
dc.contributor.authorวิริยาพร ฤทธิทิศ-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะแพทยศาสตร์-
dc.date.accessioned2022-06-13T10:11:33Z-
dc.date.available2022-06-13T10:11:33Z-
dc.date.issued2550-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/78782-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2550en_US
dc.description.abstractความสำคัญและที่มาของปัญหางานวิจัย โรคตับอักเสบเรื้อรังจากไขมันเป็นสาเหตุหนึ่งที่นำไปสู่ ภาวะตับแข็งจำนวน การวินิจฉัยมาตรฐานของโรคตับอักเสบเรื้อรังจากไขมันคือการเจาะตรวจทางพยาธิของชิ้นเนื้อ ตับ แต่เนื่องจากเป็นการตรวจวินิจฉัยที่มีภาวะแทรกซ้อน จึงทำให้มีการศึกษาเกี่ยวกับการตรวจเลือดหาระดับอะดิ โพคายน์ฮอร์โมนเพื่อช่วยในการวินิจฉัยและตรวจดูความรุนแรงของโรค วัตถุประสงค์ของการวิจัย เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ของการตรวจเลือดหาระดับอะดิโพคายน์ฮอร์โมน กับระดับความรุนแรงของการอักเสบและการเกิดภาวะพังผืดในตับในผู้ป่วยที่มีภาวะตับอักเสบเรื้อรังจากไขมัน ระเบียบวิธีการวิจัย การศึกษานี้รวบรวมผู้ป่วยที่ได้รับการวินิจฉัยว่าเป็นโรคตับอักเสบเรื้อรังจากไขมัน จากการตรวจทางพยาธิของชิ้นเนื้อตับในช่วงเดือนตุลาคม2549 ถึงเดือนพฤศจิกายน 2550 และได้ทำการเก็บ ข้อมูลทางคลินิกของผู้ป่วย ข้อมูลกลุ่มอาการเมตาบอลิก และได้เก็บเลือดส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการพื้นฐานและ ตรวจหาระดับอะดิโพคายน์ฮอร์โมนในวันที่ผู้ป่วยมานอนโรงพยาบาลเพื่อเจาะชิ้นเนื้อตับ แล้วนำข้อมูลมาศึกษา ความสัมพันธ์ระหว่างระดับอะดิโพคายน์ฮอร์โมนและระดับความรุนแรงของพยาธิสภาพในตับ ผลการวิจัย ผู้ป่วยโรคตับอักเสบเรื้อรังจากไขมันที่เข้ารับการศึกษาวิจัย 64 ราย อายุเฉลี่ย 50.0±10.4 ปี เป็นชาย 25 ราย หญิง 39 ราย ข้อมูลลักษณะพื้นฐานของผู้ป่วยในแต่ละระดับความรุนแรงของพยาธิสภาพใน ตับไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ แต่พบว่าผู้ป่วยที่มีความรุนแรงของพยาธิสภาพในตับมากกว่าทั้งการ อักเสบของตับและการเกิดภาวะพังผืดในตับมีอัตราส่วนของอะดิโพเนคตินต่อเลปตินต่ำกว่ากลุ่มที่มีความรุนแรง ของพยาธิสภาพในตับน้อยกว่าอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ สรุป อัตราส่วนของระดับอะดิโพเนคตินต่อเลปตินในเลือดมีประโยชน์ในการประเมินความรุนแรงของตับอักเสบ และการเกิดพังผืดในตับในผู้ป่วยโรคตับแข็งเรื้อรังจากไขมันen_US
dc.description.abstractalternativeBackground High prevalence of insulin resistance and metabolic syndrome (MS) in patients with nonalcoholic fatty liver disease (NAFLD) were reported. Liver biopsy is the gold standard to diagnose and assess the severity of NAFLD. But, it has some risk of complications. Adipokine hormone (AH) levels have been proposed as non invasive markers for liver fibrosis and inflammatory activity. Objective To use adipokine hormone levels for assessment the liver disease severity in lean and overweight Asian NAFLD patients. Methods All NAFLD patients with age ≥ 16 years old during October 2006 to November 2007 were enrolled prospectively for clinical data and liver biopsy. Blood tests for AST, ALT, Lipid profiles, HOMA, leptin, adiponectin, and resistin level were done. MS was defined according to the NCEPT III, with a modification for Asian people. Groups of NAFLD patients including steatosis and steatohepatitis, significant fibrosis and nonsignificant fibrosis were defined by using liver histopathologt, according to Brunt, et al . Results Sixty-four NAFLD patients (25 M and 39 F) were enrolled. Baseline characteristics including age, gender, MS, FBS, AST, ALT, lipid profile were not significantly different between groups. MS ≥ 3 criteria and adiponectin/leptin (A/L) ratio were significantly different between NASH and steatosis groups, and they were also different between significant and non-significant liver fibrosis groups (p<0.05). Conclusions Adiponectin/leptin (A/L) ratio are very useful to assess for liver disease severity in Asian NAFLD patient.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectตับอักเสบen_US
dc.subjectตับคั่งไขมันen_US
dc.subjectตับ -- การเกิดพังผืดen_US
dc.subjectHepatitisen_US
dc.subjectFatty liveren_US
dc.subjectLiver -- Fibrosisen_US
dc.titleความสัมพันธ์ของการตรวจเลือดหาระดับอะดิโพคายน์ฮอร์โมนกับความรุนแรงของตับอักเสบและภาวะพังผืดในตับในผู้ป่วยตับอักเสบเรื้อรังจากไขมันen_US
dc.title.alternativeRelationship between adipokine hormone levels, liver inflammatory activity, and fibrosis in patients with nonalcoholic fatty liver diseaseen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineอายุรศาสตร์en_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
Appears in Collections:Med - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
4974773630_2550.pdfวิทยานิพนธ์ฉบับเต็ม (Fulltext)689.28 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.