Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/79035
Title: Investigation of Particulate Air Pollution of a University Classroom: Indoor-outdoor Relationships
Other Titles: การตรวจสอบมลพิษทางอากาศจากฝุ่นละอองขนาดเล็กในห้องเรียนมหาวิทยาลัย: ความสัมพันธ์ระหว่างสภาวะภายในและภายนอก
Authors: Pornwanat Ukritsiri
Chidsanuphong Chart-asa
Other author: Chulalongkorn University. Faculty of Science
Subjects: Indoor air pollution
Dust -- Measurement
มลพิษทางอากาศในอาคาร
ฝุ่น -- การวัด
Issue Date: 2019
Publisher: Chulalongkorn University
Abstract: This study aimed to investigate PM₂.₅ pollution and air physical parameters in the university classroom and to address the relationships between indoor and outdoor during a high-polluted period. We selected the classroom 310 of the General Science Building, Faculty of Science, Chulalongkorn University as a study area. We measured PM₂.₅ concentration, temperature, relative humidity, and air velocity, at 1-minute intervals, inside and outside the classroom in the afternoon during January–February 2020. We divided the data into four groups by class activity (no class or having a class) and air quality index (healthy or unhealthy), and then performed statistical analysis. The results showed that the Group 3 “having a class on an unhealthy day” data had the highest 1-minute average PM₂.₅ concentrations for both inside and outside the classroom (44.40 ± 7.04 μg/m³ and 56.75 ± 6.57 μg/m³ respectively), while the Group 1 “no class on a healthy day” data had the lowest 1-minute average concentrations for both environments as well (14.78 ± 1.29 μg/m³ and 20.27 ± 4.19 μg/m³ respectively). Moreover, PM₂.₅ inside the class showed a statistically significant moderate-to-high correlation to PM₂.₅ outside the classroom, with a positive direction, but statistically significant low-to-moderate correlations to temperature, relative humidity, and air velocity, with uncertain directions (p < 0.05). This pattern was also found when perform the statistical analysis with the 1-hour average data.
Other Abstract: การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อตรวจสอบมลพิษ PM₂.₅ และพารามิเตอร์ทางกายภาพของ อากาศในห้องเรียนมหาวิทยาลัย และหาความสัมพันธ์ระหว่างภายในและภายนอกห้องเรียนในช่วงที่มี วิกฤตมลภาวะทางอากาศ เราเลือกห้องเรียน 310 อาคารวิทยาศาสตร์ทั่วไป คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยเป็นพื้นที่ศึกษา เราวัดความเข้มข้นของ PM₂.₅, อุณหภูมิ, ความชื้นสัมพัทธ์, และความเร็วลมรายนาที ภายในและภายนอกห้องเรียน ในช่วงตอนบ่ายของเดือนมกราคม- กุมภาพันธ์ 2563 เราแบ่งข้อมูลออกเป็น 4 กลุ่ม ตามคาบเรียน (มี/ไม่มี) และระดับดัชนีคุณภาพ อากาศ (ส่ง/ไม่ส่งผลกระทบต่อสุขภาพ) จากนั้นทำการวิเคราะห์เชิงสถิติ ซึ่งพบว่า ข้อมูลกลุ่มที่ 3 “ไม่ มีคาบเรียนในวันที่ระดับดัชนีคุณภาพอากาศส่งผลกระทบต่อสุขภาพ” มีความเข้มข้นของ PM₂.₅ เฉลี่ย รายนาทีสูงสุด ทั้งภายในและภายนอกห้องเรียน (44.40 ± 7.04 μg/m³ และ 56.75 ± 6.57 μg/m³ ตามลำดับ) ในขณะที่ข้อมูลกลุ่มที่ 1 “ไม่มีคาบเรียนในวันที่ระดับดัชนีคุณภาพอากาศไม่ส่งผลกระทบ ต่อสุขภาพ” มีความเข้มข้นของ PM₂.₅ เฉลี่ยรายนาทีต่ำที่สุดในทั้งสองสภาวะเช่นกัน (14.78 ± 1.29 μg/m3 และ 20.27 ±4.19 μg/m³ ตามลำดับ) นอกจากนี้ ความเข้มข้นของ PM₂.₅ เฉลี่ยรายนาที ภายในห้องเรียนจะมีความสัมพันธ์เชิงเส้นตรงอย่างมีนัยสำคัญในระดับปานกลาง-สูงแบบมีทิศทาง เดียวกันกับความเข้มข้นของ PM₂.₅ เฉลี่ยรายนาทีภายนอกห้องเรียน แต่ว่าในระดับต่ำ-ปานกลางแบบ ไม่มีทิศทางที่แน่นอนกับระดับอุณหภูมิ, ความชื้นสัมพัทธ์, และความเร็วลม (p < 0.05) ซึ่งแนวโน้มใน ลักษณะนี้สามารถพบได้เมื่อทำการวิเคราะห์เชิงสถิติด้วยข้อมูลเฉลี่ยรายชั่วโมงเช่นกัน
Description: โครงงานเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต ภาควิชาวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2562
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/79035
Type: Senior Project
Appears in Collections:Sci - Senior Projects

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
62-SP-ENVI-022 - Pornwanat Ukritsiri.pdf618.55 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.