Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/7910
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorพรรณทิพย์ ศิริวรรณบุศย์-
dc.contributor.authorปริญญา ฤกษ์อรุณ-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะจิตวิทยา-
dc.date.accessioned2008-08-29T10:08:11Z-
dc.date.available2008-08-29T10:08:11Z-
dc.date.issued2548-
dc.identifier.isbn9741734972-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/7910-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2548en
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาลักษณะทางจริยธรรม (Moral Characteristics) ของวัยรุ่นตอนปลายที่มีพฤติกรรมอาสาช่วยเหลือผู้อื่น (Volunteer Behaviors) กลุ่มตัวอย่างเป็นนิสิตนักศึกษาที่กำลังศึกษาอยู่ในระดับปริญญาตรี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล และมหาวิทยาราชภัฎสวนดุสิต จำนวนทั้งสิ้น 150 คน แบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม คือ กลุ่มวัยรุ่นที่มีพฤติกรรมอาสาช่วยเหลือผู้อื่นและกลุ่มวัยรุ่นที่ไม่มีพฤติกรรมอาสาช่วยเหลือผู้อื่น จำนวนกลุ่มละ 75 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถามซึ่งประกอบด้วย แบบสำรวจภูมิหลังของกลุ่มตัวอย่าง ข้อคำถามเกี่ยวกับเหตุผลของการเป็นอาสาสมัครช่วยเหลือผู้อื่น และมาตรวัดลักษณะทางจริยธรรม การวิเคราะห์ข้อมูลใช้เทคนิคการวิเคราะห์จำแนกกลุ่ม (Discriminant Analysis) แบบขั้นตอน (Stepwise) โดยใช้สถิติ Wilks' Lambda เป็นเกณฑ์ในการคัดเลือกตัวแปรเข้าสมการจำแนกกลุ่ม ผลการวิจัยพบว่า ลักษณะทางจริยธรรมที่มีศักยภาพในการพยากรณ์แนวโน้มหรือโอกาสที่จะเกิดพฤติกรรมอาสาช่วยเหลือผู้อื่นหรือไม่เกิดพฤติกรรมอาสาช่วยเหลือผู้อื่น คือ ความเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่และการเสียสละ ซึ่งสามารถร่วมกันอธิบายความแปรปรวนของการมีพฤติกรรมอาสาช่วยเหลือผู้อื่นได้ร้อยละ 15.9 และมีประสิทธิภาพในการพยากรณ์โอกาสที่จะเกิดพฤติกรรมอาสาช่วยเหลือผู้อื่น และไม่เกิดพฤติกรรมอาสาช่วยเหลือผู้อื่นร้อยละ 68.7en
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this research was to study the moral characteristics of late adolescents with volunteer behaviors. The samples were 150 graduate students in Chulalongkorn University, Mahidol University, and Suan Dusit Rajabhat University. The samples included two groups: 75 students with volunteer behaviors and 75 students with non-volunteer behaviors. The research instruments were the personal data questionnaire, the reasons of volunteering survey form, and the moral characteristics inventory. Discriminant Analysis with Stepwise Method analyzed data. Wilks' Lambda was used as the entry criterion. The data revealed that altruistic and devoting behaviors were able to account for 15.9 percent of the variance of group membership between late adolescents with volunteer behaviors and late adolescents with non-volunteer behaviors. In addition, the percentage of effectiveness in predicting group membership of late adolescents with volunteer behaviors and late adolescents with non-volunteer behaviors was 68.7.en
dc.format.extent1017422 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectพฤติกรรมการช่วยเหลือ -- ไทยen
dc.subjectวัยรุ่น -- ไทยen
dc.titleลักษณะทางจริยธรรมของวัยรุ่นตอนปลายที่มีพฤติกรรมอาสาช่วยเหลือผู้อื่นen
dc.title.alternativeMoral characteristics of late adolescents with volunteer behaviorsen
dc.typeThesises
dc.degree.nameศิลปศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineจิตวิทยาพัฒนาการes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorPuntip.S@chula.ac.th-
Appears in Collections:Psy - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Parinya_Ro.pdf993.58 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.