Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/79670
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorจิณดิษฐ์ ละออปักษิณ-
dc.contributor.authorคณาธิป นรสิงห์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์-
dc.date.accessioned2022-07-23T04:31:13Z-
dc.date.available2022-07-23T04:31:13Z-
dc.date.issued2564-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/79670-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2564-
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เปรียบเทียบความสามารถในการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาก่อนและหลังการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการสร้างตัวแบบทางคณิตศาสตร์ 2) เปรียบเทียบความสามารถในการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาหลังการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการสร้างตัวแบบทางคณิตศาสตร์กับเกณฑ์ร้อยละ 65 ของคะแนนเต็ม และ 3) ศึกษาพัฒนาการของความสามารถในการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ของนักเรียนระดับมัธยมศึกษา ระหว่างการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการสร้างตัวแบบทางคณิตศาสตร์ โดยกลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2564 ของโรงเรียนแห่งหนึ่ง สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา จังหวัดร้อยเอ็ด จำนวน 31 คน เครื่องมือที่ใช้ทดลอง คือ แผนการจัดการเรียนรู้  เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ได้แก่ แบบวัดความสามารถในการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ และแบบสัมภาษณ์ และวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ค่าเฉลี่ยเลขคณิต ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที ผลการวิจัย พบว่า 1) นักเรียนมีความสามารถในการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์หลังเรียนสูงกว่า ก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2) นักเรียนมีคะแนนเฉลี่ยของความสามารถในการแก้ปัญหา ทางคณิตศาสตร์หลังเรียนมากกว่าร้อยละ 65 ของคะแนนเต็มอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05  และ 3) การจัดการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการสร้างตัวแบบทางคณิตศาสตร์ส่งผลต่อพัฒนาการของความสามารถใน การแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ทุกองค์ประกอบ โดยขั้นเชื่อมโยงเพื่อนำไปสู่ตัวแบบเป็นขั้นที่ส่งผลมากที่สุด และความสามารถในการแก้ปัญหาทางมีแนวโน้มเปลี่ยนแปลงไปในทิศทางที่ดีขึ้น โดยนักเรียนมีพัฒนาการของความสามารถในการบูรณาการข้อมูลมากที่สุด ตามด้วยการแปลความหมายของปัญหา การวางแผนและกำกับตรวจสอบ และการดำเนินการตามแผน ตามลำดับ-
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were (1) to compare the mathematical problem-solving ability of students before and after being taught to use the mathematical modeling process, (2) to compare their mathematical problem-solving ability to the criteria score of 65%, and (3) to study the development of the mathematical problem-solving ability of students before, during, and after learning mathematical modeling. The subjects of this study were 31 ninth-grade students from a school in Roi-et. The experiment instruments consisted of lesson plans, and the collection instruments included a mathematical problem-solving test and an interview form. The data were analyzed using arithmetic mean, standard deviation, and t-test. The results of this study were as follows: (1) the mean score of the students’ post-test mathematical problem-solving ability was higher than their pre-test ability at the .05 level of significance, (2) the mean score of students’ post-test mathematical problem-solving ability was higher than the criteria of 65% of the total score at the .05 level of significance, and (3) learning the mathematical modeling process had an impact on the development of the students’ mathematical problem-solving abilities which the connecting to the model stage had the most impact and the students’ mathematical problem-solving abilities were developed in a positive direction which problem integration, a component of mathematical problem-solving abilities, was developed the most followed by problem translation, solution planning and monitoring, and solution execution consecutively.-
dc.language.isoth-
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.relation.urihttp://doi.org/10.58837/CHULA.THE.2021.555-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.subjectคณิตศาสตร์ -- การศึกษาและการสอน (มัธยมศึกษา)-
dc.subjectการเรียนที่ใช้ปัญหาเป็นฐาน-
dc.subjectMathematics -- Study and teaching ‪(Secondary)‬-
dc.subjectProblem-based learning-
dc.subject.classificationSocial Sciences-
dc.titleกระบวนการสร้างตัวแบบทางคณิตศาสตร์กับการพัฒนาความสามารถในการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ของนักเรียนระดับมัธยมศึกษา-
dc.title.alternativeMathematical modeling and the development of mathematical problem solving of secondary school students-
dc.typeThesis-
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิต-
dc.degree.levelปริญญาโท-
dc.degree.disciplineการศึกษาคณิตศาสตร์-
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.identifier.DOI10.58837/CHULA.THE.2021.555-
Appears in Collections:Edu - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
6280021327.pdf6.17 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.