Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/80170
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorManoj Lohatepanont-
dc.contributor.advisorKrisana Visamitanan-
dc.contributor.authorSrisamrit Supaprasert-
dc.contributor.otherChulalongkorn University. Graduate School-
dc.date.accessioned2022-07-23T05:25:28Z-
dc.date.available2022-07-23T05:25:28Z-
dc.date.issued2020-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/80170-
dc.descriptionThesis (Ph.D.)--Chulalongkorn University, 2020-
dc.description.abstractStudies on the Transit-Oriented Development (TOD) for Bangkok are found sparingly. The TOD concept is a supportive development for the rapidly changing city in order to reduce urban transport problems while encouraging people to shift transport modes to use public transportation instead of private cars. This study discusses the context of TOD in the density, the design, and the diversity of land use around transit stations among successful stations in many countries. There were 18 station areas in Bangkok which, by using the TOD Readiness score, the assessment of the stations implies that the higher scoring transit stations are more compatible to supporting pedestrian use of the transit station with lower car dependency. The 4 top-scoring stations were assessed by using a multinomial logistic regression model. The study has found the TOD scores and the frequent uses of the stations encourage the commuters around the station areas to rely on public transport instead of car dependency. This is an effort to overcome the understanding of the station areas by reducing the complexity of the TOD contexts to any transit station in Thailand to be eligible for future study.-
dc.description.abstractalternativeการศึกษาเกี่ยวกับการพัฒนาชุมชนเมืองในเขตพื้นที่รอบสถานีขนส่งสาธารณะ (TOD) สำหรับกรุงเทพมหานครพบว่ายังไม่เป็นที่แพร่หลายในกลุ่มงานวิจัย ซึ่ง TOD ถือเป็นแนวคิดที่สนับสนุนแนวทางการพัฒนาชุมชนเมืองเพื่อลดปัญหาด้านการคมนาคมในพื้นที่ชุมชนเมือง ขณะเดียวกันก็ส่งเสริมให้ประชาชนทั่วไปเดินทางสัญจรโดยใช้ระบบขนส่งสาธารณะแทนการใช้รถยนต์ส่วนตัว โดยที่บริบทของ TOD สำหรับกรุงเทพมหานครนั้น อยู่ภายในกรอบของการออกแบบด้านโครงสร้างพื้นฐานให้มีความกระชับรวมไปถึงความหลากหลายของการใช้ที่ดินรอบบริเวณสถานีขนส่งสาธารณะโดยอ้างอิงจากสถานีขนส่งในต่างประเทศที่ประสบความสำเร็จภายใต้กรอบแนวคิดนี้  การศึกษาในครั้งนี้ใช้สถานีขนส่งสาธารณะจำนวน 18 สถานีในเขตกรุงเทพมหานครเป็นกลุ่มตัวอย่าง โดยที่ดัชนี TOD Readiness จะทำการประเมินผลคะแนนของแต่ละสถานี โดยสถานีใดที่มีคะแนนสูงกว่าจะมีความพร้อมในการสนับสนุนการเดินทางสัญจรด้วยวิธีการเดินเท้าไปยังพื้นที่สถานีนั้นได้ดีกว่าสถานีใดที่มีคะแนนน้อยกว่า และในภายหลังสถานีที่มีคะแนนสูงสุด 4 สถานีได้ถูกวิเคราะห์ด้วยแบบจำลองการถดถอยโลจิสติกพหุนาม ซึ่งผลการวิเคราะห์พบว่าคะแนน TOD และความถี่ในการใช้งานรถไฟฟ้า ส่งผลให้ผู้ที่สัญจรอยู่รอบบริเวณสถานีขนส่งตัดสินใจหันมาใช้ระบบขนส่งสาธารณะแทนการใช้รถยนต์ส่วนตัวกันมากขึ้น ผลการศึกษาในครั้งนี้ถือเป็นความสำเร็จในการทำความเข้าใจเกี่ยวกับพื้นที่รอบสถานีขนส่งสาธารณะด้วยการประยุกต์ใช้แนวคิด TOD และสามารถใช้เป็นแนวทางในการศึกษาสถานีอื่นในประเทศไทยได้ต่อไปในอนาคต-
dc.language.isoen-
dc.publisherChulalongkorn University-
dc.relation.urihttp://doi.org/10.58837/CHULA.THE.2020.286-
dc.rightsChulalongkorn University-
dc.titleDevelopment of TOD readiness index and its application to transit station in Bangkok-
dc.title.alternativeการพัฒนาดัชนีวัดความพร้อมของการเป็น TOD และการประยุกต์ใช้กับสถานีขนส่งสาธารณะในกรุงเทพมหานคร-
dc.typeThesis-
dc.degree.nameDoctor of Philosophy-
dc.degree.levelDoctoral Degree-
dc.degree.disciplineLogistics and Supply Chain Management-
dc.degree.grantorChulalongkorn University-
dc.identifier.DOI10.58837/CHULA.THE.2020.286-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5987799420.pdf2.52 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.