Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/80469
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorธารทัศน์ โมกขมรรคกุล-
dc.contributor.authorอัญญพร เจริญกิจศิริวงศ์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2022-09-14T03:47:14Z-
dc.date.available2022-09-14T03:47:14Z-
dc.date.issued2564-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/80469-
dc.descriptionสารนิพนธ์ (วท.ม.)—จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2564en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาหาปัจจัยที่ส่งผลต่อความล่าช้าของการกระจายสินค้าเร่งด่วนทางอากาศขาเข้า รวมถึงหาแนวทางการพัฒนาปรับปรุงการกระจายสินค้า เพื่อให้ปริมาณสินค้าที่ล่าช้าลดลง โดยประยุกต์ใช้วิธีการ DMAIC ของซิกซ์ ซิกม่า ซึ่งทำการศึกษาการกระจายสินค้าในรอบ 12.00น. และการปฏิบัติงานของฝ่ายที่เกี่ยวข้องทั้งหมด 5 ฝ่าย ขั้นตอนการศึกษาทั้งหมดแบ่งเป็น 5 ขั้นตอน ดังนี้ 1) การกำหนดปัญหาโดยศึกษาปริมาณงานที่แต่ละฝ่ายสามารถทำได้ตามเวลาที่กำหนดในช่วงเดือนกรกฎาคมถึงสิงหาคม 2564 2) การวัดเพื่อหาปัญหา ศึกษากระบวนการย่อยและวัดเวลาการปฏิบัติงาน 3) การวิเคราะห์สาเหตุ ระดมความคิดโดยคณะทำงานโดยจัดทำผังแสดงเหตุและผล นำปัจจัยที่ได้ มาบันทึกความล่าช้าของสินค้าในช่วงเดือนตุลาคมถึงพฤศจิกายน 2564 เพื่อหาสาเหตุที่แท้จริง 4) การปรับปรุงแก้ไขโดยหาปริมาณเจ้าหน้าที่ที่เหมาะสมต่อวันในช่วงเดือนมกราคมถึงกุมภาพันธ์ 2565 5) การควบคุม ติดตามผลหลังปรับปรุง ประเมินผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นพร้อมเสนอวิธีเตรียมการ และสอบถามเพิ่มเติมถึงปัจจัยสาเหตุอื่น ๆ จากฝ่ายที่เหลือเก็บเป็นข้อมูลเพื่อพัฒนาต่อในอนาคต ผลจากการวิจัยพบว่า ปัญหาความล่าช้าที่เกิดขึ้นนั้นเกิดจากฝ่ายปฏิบัติงานจัดส่งสินค้าที่ได้ปฏิบัติงานล่าช้า หลังจากปรับปรุงโดยการหาปริมาณเจ้าหน้าที่ที่เหมาะสมในแต่ละวัน ส่งผลให้ปริมาณสินค้าที่ถูกกระจายได้ทัน เพิ่มขึ้นจากร้อยละ 58 เป็นร้อยละ 77 จากการเพิ่มจำนวนเจ้าหน้าที่ต่อวันตั้งแต่ 3 คนขึ้นไป และศึกษาเพิ่มเติมถึงปัจจัยอื่น ๆ จาก 4 ฝ่ายที่เหลือเพื่อเป็นแนวทางปรับปรุงการปฏิบัติงานให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้นในอนาคต ซึ่งพบว่ามีปัจจัยด้านความผันผวนของปริมาณสินค้า และการตรวจปล่อยสินค้าของเจ้าหน้าที่กรมศุลกากรที่ไม่สามารถกำหนดเวลาที่แน่ชัดได้en_US
dc.description.abstractalternativeThis research aims to study the factors affecting the delay of the express inbound distribution process and find the method that will improve the delay by using Six Sigma's DMAIC method to study the distribution process on cycle 12.00 and working process of total 5 involved department. The research methodology consists of 5 phases: 1) Define phase, Study shipment’s quantity that completed on-time of each department during July to August, 2021 2) Measure phase to find cause of problem, study sub-process and measure working time 3) Analysis phase, brainstorming, record cause of delay during October to November, 2021 and analyze the root cause 4) Improve phase, find the suitable number of staff of each day and implement during January to February, 2022 5) Control phase, follow up the implement’s result, evaluate effect issue can be occurred with the preparations and asking more other relevant factors from the other departments. The result reveals that the delay was caused by delay working of Operations Department. After improve the process by finding daily suitable number of staff, it found that the on-time delivered percentage had increased from 58% to 77% by increasing at least 3 staffs per day and worked with other 4 departments for more relevant factors as a way to improve the process for more efficient in the future, it found the Shipment’s quantity fluctuation and Customs clearance unable to determine the exact time.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.58837/CHULA.IS.2021.226-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectการขนส่งทางอากาศen_US
dc.subjectการขนส่งสินค้าen_US
dc.subjectการบริหารงานโลจิสติกส์en_US
dc.subjectAeronautics, Commercialen_US
dc.subjectCommercial products -- Transportationen_US
dc.subjectBusiness logisticsen_US
dc.titleการปรับปรุงการกระจายสินค้าเร่งด่วนทางอากาศขาเข้าen_US
dc.title.alternativeImprovement of inbound express cargo distributionen_US
dc.typeIndependent Studyen_US
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineการจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทานen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.identifier.DOI10.58837/CHULA.IS.2021.226-
Appears in Collections:Grad - Independent Studies

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
6380103320_Anyaporn Cha_IS_2564.pdfสารนิพนธ์ (ให้บริการเฉพาะบทคัดย่อ)4.31 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.