Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/80574
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุริยัณห์ สาระมูล-
dc.contributor.authorจิราภา อังศุวรพฤกษ์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์-
dc.date.accessioned2022-10-05T02:25:33Z-
dc.date.available2022-10-05T02:25:33Z-
dc.date.issued2563-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/80574-
dc.descriptionโครงงานเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต ภาควิชาวิทยาศาสตร์ทางทะเล คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2563en_US
dc.description.abstractศึกษาการเปลี่ยนแปลงลักษณะพื้นท้องน้ำบริเวณปากแม่น้ำปราณบุรี จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ด้วย แบบจำลองอุทกพลศาสตร์ Delf3D-FLOW ร่วมกับแบบจำลองคลื่น Delf3D-WAVE โดยพิจารณาปัจจัยทาง กายภาพที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงลักษณะพื้นท้องน้ำจำนวน 4 ปัจจัย ได้แก่ น้ำขึ้นน้ำลง กระแสลม คลื่น และ น้ำท่า แบ่งพื้นที่สำหรับแบบจำลองเป็น 2 พื้นที่ พื้นที่ใหญ่ครอบคลุมพื้นที่ตั้งแต่บริเวณหัวหินถึงเกาะหลัก และ พื้นที่เล็กซึ่งได้จากการทำ nesting จากแบบจำลองพื้นที่ใหญ่จะครอบคลุมพื้นที่ปากแม่น้ำปราณบุรี ขนาดกริด แบบจำลองอุทกพลศาสตร์และแบบจำลองคลื่นสำหรับพื้นที่ใหญ่มีขนาดเท่ากับ 20x20 และ 40x40 ตาราง เมตร ตามลำดับ ส่วนขนาดกริดของพื้นที่เล็กจะมีขนาดเล็กกว่าครึ่งหนึ่งของพื้นที่ใหญ่ ทำการ nesting ระดับ น้ำจากแบบจำลองพื้นที่ใหญ่สู่แบบจำลองพื้นที่เล็ก โดยกำหนดให้แบบจำลองพื้นที่เล็กมีแรงขับที่เกิดจากน้ำขึ้น น้ำลงและคลื่นบริเวณขอบเขตเปิดด้านตะวันออก มีลมเป็นแรงขับที่ผิวน้ำ และมีน้ำท่าเป็นแรงขับที่แม่น้ำปราณบุรี ผลการศึกษาพบว่า การเปลี่ยนแปลงลักษณะพื้นท้องน้ำบริเวณปากแม่น้ำปราณบุรีส่วนใหญ่จะเกิดการ เปลี่ยนแปลงทางตอนใต้ของ Jetties โดยจะมีการพัดพาตะกอนจากบริเวณปาก Jetties มาถับทมในบริเวณ ใกล้ชายฝั่งทางด้านข้าง Jetties ส่วนในบริเวณด้านนอกชายฝั่งจะเกิดการกัดเซาะและการถับทมตัวในบริเวณ ใกล้เคียงกัน สาเหตุของการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นนี้อาจเป็นผลมาจากอิทธิพลของคลื่นในช่องมรสุม ตะวันออกเฉียงเหนือที่มีขนาดประมาณ 0.33 เมตร และมีทิศทางการเคลื่อนที่เข้าสู่ชายฝั่ง ในขณะที่ช่วงมรสุม ตะวันตกเฉียงใต้ขนาดของคลื่นมีค่าต่ำ จึงพบการเคลื่อนที่ของตะกอนน้อย การเปลี่ยนแปลงพื้นท้องน้ำที่ เกิดขึ้นในพื้นที่ปากแม่น้ำปราณบุรีจากการศึกษาด้วยแบบจำลองทางคณิตศาสตร์นี้ พบว่าได้รับอิทธิพลหลักมา จากลมในช่วงมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ คลื่น และน้ำท่า โดยที่มีน้ำขึ้นน้ำลงเป็นอิทธิพลร่วมen_US
dc.description.abstractalternativeThe study of seasonal bathymetry changes in Pranburi River Mouth, Prachuap Khiri Khan Province was investigated using a couple Delft3D-FLOW and Delf3D-WAVE model. In this study, 4 physical factors affecting bathymetry change tides, wind, wave and river discharge were taken into consideration. The model domain was divided into 2 areas. The large domain covered from Hua Hin to the main Ko Lak, while the small domain, nested from large domain will cover Pranburi River Mouth. Model grid resolution of hydrodynamic and wave models for large domain were respectively 20x20 and 40x40 m². While the grid resolution of nested model (small domain) was half of the large domain. Water level nested from large model domain was applied at eastern boundary of small model domain. Variable winds were forced at the surface and river discharge was applied at Pranburi River. Form the model study, it was found that south of Jetties was the place where bathymetry change mostly occurred, Sediments were carried from the river mouth to the area near Jetties. While in offshore area, there existed erosion and sedimentation. Shoreward direction toward south jetties of wave size of approximately 0.33 m during northeast monsoon may cause these changes. On the other hands, during southwest monsoon bathymetry was rarely altered due to small wave height (less sediment transport). In conclusion, bathymetry changes based on model simulation in Pranburi River Mouth was dominantly controlled by northeast monsoon wave and river discharge, while tides was co-factor.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectตะกอนแม่น้ำ -- แม่น้ำปราณบุรีen_US
dc.subjectแบบจำลองทางคณิตศาสตร์en_US
dc.subjectRiver sediments -- Pranburi Riveren_US
dc.subjectMathematical modelsen_US
dc.titleการศึกษาการเปลี่ยนแปลงลักษณะพื้นท้องน้ำตามฤดูกาล บริเวณปากแม่น้ำปราณบุรี จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ด้วยแบบจำลองทางคณิตศาสตร์en_US
dc.title.alternativeThe study of seasonal bathymetry changes in Pranburi River Mouth, Prachuap Khiri Khan Province using mathematical model.en_US
dc.typeSenior Projecten_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
Appears in Collections:Sci - Senior Projects

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
63-SP-MARINE-002 - Jirapa Augsuvorapruk.pdf50.67 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.