Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/8066
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorBunjerd Jongsomjit-
dc.contributor.authorPimchanok Tupabut-
dc.contributor.otherChulalongkorn University. Faculty of Engineering-
dc.date.accessioned2008-09-18T09:32:57Z-
dc.date.available2008-09-18T09:32:57Z-
dc.date.issued2006-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/8066-
dc.descriptionThesis (M.Eng.)--Chulalongkorn University, 2006en
dc.description.abstractIn the present study, differences in characteristics and catalytic activity towards CO hydrogenation of Co catalysts dipersed on various boron-modified MCM-41 supports were investigated. The various weight ratios of MCM-41/B were prepared by incipient wetness impregnation method, then calcined them in air. Then, consequently impregnated with the cobalt precursor. After calcinations, the various samples were characterized using N[subscript 2] physisorption, XRD, SEM/EDX, TEM, TPR and H[subscript 2] chemisorption CO hydrogenation (H[subscript 2]/CO = 10/1) was also performed to determine the overall activity and selectivity. It revealed that the size of Co oxide species depends on the boron content on modification support. A wide range of variables including particle size, support interaction, and the boron content can affect the kinetics of reduction. It was found that for the boron modified MCM-41 catalyst, the catalyst dispersed on the high boron content support exhibited low activities due to low reduciblilty. With small amount of cobalt loading, activity decreased due to a decrease in reducibility. Selectivity to C[subscript 2]-C[subscript 4] products slightly increased with increasing boron loading.en
dc.description.abstractalternativeวิทยานิพนธ์นี้ศึกษาถึงคุณลักษณะและความว่องไวในการเร่งปฏิกิริยา ไฮโดรจิเนชันของคาร์บอนมอนอกไซด์ที่แตกต่างกันระหว่าง ตัวเร่งปฏิกิริยาโคบอลต์ที่กระจายตัวอยู่บนตัวรองรับ MCM-41 ที่ถูกปรับปรุงด้วยโบรอนในอัตราส่วนต่างๆ โดยอัตราส่วนระหว่า MCM-41 ต่อโบรอนถูกเตรียมขึ้นที่อัตราส่วนต่างๆกัน โดยน้ำหนัก ด้วยวิธีฝังเคลือบ MCM-41 ด้วยโบรอนแล้วนำไปเผาในอากาศ หลังจากนั้นนำไปฝังเคลือบอีกครั้งด้วยโคบอลต์อัตราส่วนต่างๆกัน โดยน้ำหนักหลังจากการเผาในอากาศ ตัวอย่างต่างๆจะถูกนำไปตรวจสอบคุณลักษณะโดยใช้การดูดซับทางกายภาพด้วยไตโตรเจน การกระเจิงรังสีเอ็กซ์ การส่งผ่านด้วยกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอน การวัดการกระจายตัวของโลหะ การส่องกราดด้วยกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอน การรีดักชันแบบโปรแกรมอุณหภูมิ และการดูดซับด้วยไฮโดรเจน ปฏิกิริยาไฮโดรจิเนชันของคาร์บอนมอนอกไซด์ (มีอัตราส่วนของไฮโดรเจนต่อคาร์บอนมอนอกไซด์=10/1) ถูกใช้เพื่อทดสอบความว่องไวของตัวเร่งปฏิกิริยาและการเลือกเกิดของผลิตภัณฑ์ ผลการศึกษาแสดงให้เห็นว่าขนาดของโคบอลต์ออกไซด์ขึ้นอยู่กับปริมาณโบรอนที่ปรับปรุงทั้งนี้ตัวแปรที่มีผลกระทบต่อกลไกของการรีดักชัน ได้แก่ ขนาด อนุภาค, อันตรกิริยาของตัวรองรับ และปริมาณของโบรอน โดยพบว่าตัวเร่งปฏิกิริยาที่กระจายตัวอยู่บนตัวรองรับ MCM-41 จะมีความว่องไวลดลงเนื่องจากความสามารถในการรีดิวที่ลดลง เมื่อปริมาณโบรอนที่สูงขึ้นและยังพบว่า ความว่องไวของตัวเร่งปฏิกิริยาจะลดลงเมื่อปริมาณโคบอลต์ลดลงทำให้ความสามารถในการรีดิวลดลง ส่วนสามารถในการเกิดโฮโดรคาร์บอนที่โมเลกุลใหญ่สูงขึ้นเล็กน้อยเมื่อปริมาณโบรอนสูงขึ้นen
dc.format.extent3720302 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isoenes
dc.publisherChulalongkorn Universityen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2006.1546-
dc.rightsChulalongkorn Universityen
dc.subjectHydrogenationen
dc.subjectCarbon monoxideen
dc.titleEffect of boron-modified MCM-41 on cobalt/MCM-41 catalyst for carbon monoxide hydrogenationen
dc.title.alternativeผลกระทบของ MCM-41 ที่ถูกปรับปรุงด้วยโบรอนต่อตัวเร่งปฏิกิริยา Co/MCM-41 สำหรับปฏิกิริยาคาร์บอนมอนออกไซด์ ไฮโดรจิเนชันen
dc.typeThesises
dc.degree.nameMaster of Engineeringes
dc.degree.levelMaster's Degreees
dc.degree.disciplineChemical Engineeringes
dc.degree.grantorChulalongkorn Universityen
dc.email.advisorBunjerd.J@chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2006.1546-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Pimchanok.pdf3.63 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.