Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/81664
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorPakorn Varanusupakul-
dc.contributor.authorNiluh Indria Wardani-
dc.contributor.otherChulalongkorn University. Faculty of Sciences-
dc.date.accessioned2023-02-03T04:13:17Z-
dc.date.available2023-02-03T04:13:17Z-
dc.date.issued2022-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/81664-
dc.descriptionThesis (M.Sc.)--Chulalongkorn University, 2022-
dc.description.abstractIn this thesis, solidification of floating organic drop-emulsification liquid-liquid microextraction (SFOD-ELLME) was combined with digital image colorimetry (DIC) for the analysis of synthetic dyes, such as rhodamine B (RhB) and crystal violet (CV) in food and drink samples. Here, the extraction was performed by using emulsified fatty acid surfactant and freezing procedure to separate the extracting phase. The solidified floating organic drop was then taken out, liquified and dropped on the paper platform for digital image colorimetric analysis. The response surface methodology-central composite design (RSM-CCD) was used to optimize some variables that influence the extraction efficiency. A sample of 7 mL was used and adjusted to pH 7 and 8 for CV and RhB, respectively prior to extraction. The extraction phase was 21.6 μL octanoic acid. The extraction phase was emulsified by manually shaking for 10 s and centrifugation at 3000 rpm for 5 min. The digital image was taken by the smartphone camera in the light-controlled box. The distance between camera and the paper platform was kept at 36 cm. The color was analyzed by ImageJ program using red channel. Limit of detection (LOD) and limit of quantification (LOQ) for CV were 0.8 μg/L and 3 μg/L; 3 μg/L and 10 μg/L for RhB. The linear ranges were 3-20 μg/L (R2 = 0.999) for CV and 10-40 μg/L (R2 = 0.995) for RhB. The method was applied to determine RhB in beverage, candy, jelly, and chili sauce samples and CV in drinking water samples. The relative recovery percentages (RR%) between 73 % and 113 % were achieved.-
dc.description.abstractalternativeงานวิจัยนี้เป็นการพัฒนาเทคนิคการสกัดด้วยเฟสของเหลวระดับจุลภาคแบบอิมัลชั่นและการทำให้หยดตัวทำละลายอินทรีย์เป็นของแข็งลอยร่วมกับการตรวจวัดภาพสีแบบดิจิทัลสำหรับการวิเคราะห์สีย้อมสังเคราะห์ได้แก่ โรดามีน-บี และคริสตัลไวโอเล็ตในตัวอย่างอาหารและเครื่องดื่ม การสกัดใช้สารลดแรงตึงผิวชนิดกรดไขมันก่อให้เกิดอิมัลชั่นและทำการรวมหยดตัวทำละลายอิมัลชั่นและแยกออกจากชั้นตัวอย่างโดยทำให้เป็นของแข็งที่อุณหภูมิต่ำกว่าจุดเยือกแข็งของตัวทำละลาย หยดของแข็งจะถูกแยกและทำให้กลายเป็นของเหลวอีกครั้งก่อนนำไปหยดลงบนอุปกรณ์ตรวจวัดฐานกระดาษสำหรับการวิเคราะห์ภาพสีแบบดิจิทัล ศึกษาพารามิเตอร์ที่มีอิทธิพลต่อประสิทธิภาพในการสกัดโดยใช้วิธี response surface methodology-central composite design (RSM-CCD) ในการสกัดใช้ตัวอย่างปริมาตร 7 มิลลิลิตร ปรับสภาวะให้มีพีเอช 7 และ 8 ก่อนทำการสกัดคริสตัลไวโอเล็ตและโรดามีน-บี ตามลำดับ กรดออกทาโนอิกปริมาตร 21.6 ไมโครลิตรเป็นเฟสสกัด ทำให้เกิดอิมัลชั่นโดยการเขย่าอย่างแรงเป็นเวลา 10 วินาทีและปั่นเหวี่ยงที่ 3000 รอบต่อนาทีเป็นเวลา 5 นาที รูปภาพหยดสีถ่ายด้วยกล้องจากโทรศัพท์มือถือในกล่องที่มีการควบคุมแสง ระยะกล้องถึงรูปถ่ายที่ 36 เซนติเมตร วิเคราะห์ภาพหยดสีด้วยโปรแกรมอิมเมจเจ ช่องสีแดง ขีดจำกัดในการตรวจวัดและขีดจำกัดในการหาปริมาณอยู่ที่ 0.8 ไมโครกรัมต่อลิตร และ 3 ไมโครกรัมต่อลิตรตามลำดับสำหรับการวิเคราะห์คริสตัลไวโอเล็ตและ 3 ไมโครกรัมต่อลิตร และ 10 ไมโครกรัมต่อลิตรตามลำดับสำหรับการวิเคราะห์โรดามีน-บี มีช่วงความเป็นเส้นตรงที่ 3 - 20 ไมโครกรัมต่อลิตร (R2 = 0.999) สำหรับการวิเคราะห์คริสตัลไวโอเล็ต และ 10 - 40 ไมโครกรัมต่อลิตร (R2 = 0.995) สำหรับการวิเคราะห์โรดามีน-บี. วิธีที่พัฒนานี้ได้นำไปใช้วิเคราะห์โรดามีน-บี ในตัวอย่างเครื่องดื่ม ลูกอม เยลลี่ และซอสพริก และวิเคราะห์คริสตัลไวโอเล็ตในตัวอย่างน้ำดื่ม มีค่าการได้กลับคืนสัมพัทธ์อยู่ระหว่าง 73-113 เปอร์เซ็นต์-
dc.language.isoen-
dc.publisherChulalongkorn University-
dc.relation.urihttp://doi.org/10.58837/CHULA.THE.2022.76-
dc.rightsChulalongkorn University-
dc.subjectColorimetric analysis-
dc.subjectAnalytical chemistry-
dc.subjectFood -- Analysis-
dc.subjectการวิเคราะห์โดยการวัดสี-
dc.subjectเคมีวิเคราะห์-
dc.subjectอาหาร -- การวิเคราะห์-
dc.subject.classificationChemistry-
dc.titleEmulsification microextraction using surfactant coupled with colorimetric detection for determination of synthetic dyes in food-
dc.title.alternativeการสกัดระดับจุลภาคด้วยการเกิดอิมัลชันโดยใช้สารลดแรงตึงผิวร่วมกับการตรวจวัดเชิงสีสำหรับการตรวจวัดสี ย้อมสังเคราะห์ในอาหาร-
dc.typeThesis-
dc.degree.nameMaster of Science-
dc.degree.levelMaster's Degree-
dc.degree.disciplineChemistry-
dc.degree.grantorChulalongkorn University-
dc.identifier.DOI10.58837/CHULA.THE.2022.76-
Appears in Collections:Sci - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
6372036523.pdf1.32 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.