Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/81956
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorใจทิพย์ ณ สงขลา-
dc.contributor.authorศิริเดช สุชีวะ-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์-
dc.date.accessioned2023-03-01T09:21:00Z-
dc.date.available2023-03-01T09:21:00Z-
dc.date.issued2558-
dc.identifier.urihttps://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/81956-
dc.description.abstractในสภาวะการเรียนรู้จากการแก้ปัญหา จากความรู้อันซับซ้อนที่เคลื่อนไหวและแปลงรูปอยู่ตลอดเวลาในโลกดิจิทัล การเรียนรู้เช่นนี้จึงมิใช่แนวคิดเดิม ที่เป็นการเรียนรู้จากสารสนเทศที่มากมายหลากหลาย ที่ไม่เพียงแต่จะเรียนที่ไหนและเวลาใดเพียงเท่านั้น แต่ต้องมีทักษะความสามารถในการเลือกที่จะคัดสรรสาระความรู้ที่มีอยู่ในช่วงระยะเวลาหนึ่ง ๆ ในแก้ปัญหาที่มีความแตกต่างสร้างสรรค์ แนวคิดการเรียนรู้เช่นนี้ ตามทฤษฎีคอนเน็ตติวิซึมส์ โดย George Siemens (2008) ได้อ้างถึงการเรียนรู้ในโลกดิจิทัลคือการโยงใยความรู้ในสิ่งแวดล้อมการเรียนรู้แบบเปิด มีความเป็นเอกเทศ แต่ใช้เครือข่ายสังคมที่สรรสร้างให้เกิดนวัตกรรม งานวิจัยนี้ใช้กรอบแนวคิดที่ให้ความสำคัญกับการเปิดสิ่งแวดล้อมการเรียนรู้ให้ไม่จำกัดเพียงในห้องเรียนด้วยวิธีการกลับด้านห้องเรียน และใช้กลวิธีการเรียนรู้ที่อิงการปฏิบัติการจริงที่ใช้ในการเรียนรู้ในที่ทำงานที่ต้องใช้หลักการสำคัญคือคำถาม/ปัญหา และการสะท้อนคิดที่ได้จากการลงมือปฏิบัติ โดยใช้เทคโนโลยีที่สนับสนุนการแก้ปัญหาให้เกิดขึ้นอย่างสร้างสรรค์ งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ออกแบบระบบห้องเรียนกลับด้านที่ใช้การเรียนรู้จากการปฏิบัติโดยผสานการเรียนรู้แบบเชื่อมโยงไปยัง 2) ศึกษาผลกการใช้ระบบฯที่มีต่อความสามารถในการแก้ปัญหาเชิงสร้างสรรค์ของผู้เรียนระดับอุดมศึกษา งานวิจัยเชิงพัฒนา ใช้การวิเคราะห์งานวิจัยและแนวปฏิบัติ วิพากษ์ระบบฯ ด้วยการประชุมกลุ่มผู้เชี่ยวชาญ และนำทดสอบสองกรณีศึกษา ผลการวิจัยพบว่า ผู้เรียนมีความสามารถ ความคิดสร้างสรรค์สูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ .05en_US
dc.description.abstractalternativeIn a digitized complex world of a fluid knowledge, open content could be in every minute updated and being chosen for everyday problem solving. Learning is not a tedious endless immense of factual information to learn at anywhere and anytime, anymore; but a skill to connect to connect to a right content in a specific time. The proclaim of Connectivisit vision of George Siemens, who urged an open learning environment of creative, autonomous and social network learning in a digital movement, came around to group of excited educators in Asia, though a doubt of this abstract concept. Flipped classroom is being recognized as a strategic instructional method that brings new phenomena of learning; while action learning based upon questioning and reflection ground of workplace learning was designed in a analogy of an origami system. Methods and Technological tools facilitage students to solving problem creatively and flipping their classes into the workplace. Two case studies found to be a higher creative problem solving after using this system.en_US
dc.description.sponsorshipได้รับทุนสนับสนุนการวิจัยกองทุนรัชดาภิเษกสมโภช ประจำปีงบประมาณ 2557 สัญญาทุนเลขที่ R/F_2557_023_03_27en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherคณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsคณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectห้องเรียนกลับด้านen_US
dc.subjectมูกส์ (การเรียนการสอนผ่านเว็บ)en_US
dc.subjectการแก้ปัญหาในวัยรุ่นen_US
dc.titleระบบห้องเรียนกลับด้านโดยใช้การเรียนรู้จากการปฏิบัติด้วยมูค เพื่อส่งเสริมความสามารถในการแก้ปัญหาเชิงสร้างสรรค์ของผู้เรียนระดับอุดมศึกษาen_US
dc.title.alternativeFlipped-classroom system using action learning with MOOCs for enhancing creative problem solving ability of students in higher educationen_US
dc.typeTechnical Reporten_US
Appears in Collections:Edu - Research Reports

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Jaitip_Na_Res_2558.pdf124.07 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.