Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/82547
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorพรชัย สิทธิศรัณย์กุล-
dc.contributor.advisorสรันยา เฮงพระพรหม-
dc.contributor.authorศุภสิน วงศ์บุญตัน-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะแพทยศาสตร์-
dc.date.accessioned2023-08-04T06:08:37Z-
dc.date.available2023-08-04T06:08:37Z-
dc.date.issued2565-
dc.identifier.urihttps://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/82547-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2565-
dc.description.abstractปัจจุบันผู้คนมีแนวโน้มที่จะใช้ชีวิตและทำงานในอาคารซึ่งมีระบบระบายอากาศแบบปิดมากขึ้น การศึกษาที่ผ่านมามีผู้ได้รับผลกระทบจาก “กลุ่มอาการป่วยเหตุอาคาร (Sick Building Syndrome, SBS)” จำนวนไม่น้อยทั่วโลก โดยเฉพาะที่ทำงานในอาคารสำนักงานและตึกสูง การศึกษาภาคตัดขวางนี้เป็นการศึกษาแรกที่ศึกษาความชุกของกลุ่มอาการป่วยเหตุอาคารของผู้ปฏิบัติงานในอาคารท่าอากาศยาน และศึกษาความสัมพันธ์ของปัจจัยที่มีต่อกลุ่มอาการป่วยเหตุอาคารในหลายมิติ ทำการเก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามและใช้ผลตรวจวัดคุณภาพอากาศภายในอาคารของท่าอากาศยานนานาชาติแม่ฟ้าหลวง เชียงราย มีผู้เข้าร่วมการศึกษาจำนวน 402 คน ผลการศึกษาพบความชุกอยู่ที่ร้อยละ 29.4 โดยปัจจัยที่พบว่ามีความสัมพันธ์กับกลุ่มอาการป่วยเหตุอาคารป่วยเหตุอาคารได้แก่ อายุที่น้อยกว่า 40 ปี เพศหญิง ระดับการศึกษาปริญญาตรีขึ้นไป เวลาในการใช้หน้าจอมากกว่าครึ่งของเวลางาน ความเครียดจากงาน และกลิ่นไม่พึงประสงค์ การปรับปรุงสภาพแวดล้อมและการปฏิบัติงานรวมถึงการวินิจฉัยกลุ่มอาการป่วยเหตุอาคารเป็นกุญแจสำคัญในการแก้ไขปัญหา การศึกษาในเรื่องผลกระทบต่อการปฏิบัติงานยังคงเป็นประเด็นสำคัญสำหรับการศึกษาในอนาคต-
dc.description.abstractalternativeNowadays, the number of people who lives and works in buildings with closed ventilation systems is increasing. Past studies show that the worldwide population is affected by "Sick Building Syndrome (SBS)", especially those working in office buildings and high-rise buildings. This cross-sectional study is the first study that examines the prevalence of SBS among workers in airport buildings and studies the associated factor in many dimensions. Data were collected using a questionnaire coupled with the indoor air quality at Mae Fah Luang-Chiang Rai International Airport. There were 402 participants in the study. The prevalence of SBS was 29.4%. The associated factors of SBS are female, younger than 40 years old, Bachelor's degree or higher in educational level, using a screen longer than half of working time, work stress, and unpleasant smell. Improving the environment and operations as well as diagnosing SBS are key to solving the problem. Studying the impact of SBS on performance remains an important area for future studies.-
dc.language.isoth-
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.relation.urihttp://doi.org/10.58837/CHULA.THE.2022.515-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.subject.classificationMedicine-
dc.subject.classificationAccommodation and food service activities-
dc.subject.classificationMedicine-
dc.titleความชุกและปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับกลุ่มอาการป่วยเหตุอาคาร ของผู้ปฏิบัติงานภายในท่าอากาศยานแห่งหนึ่งในประเทศไทย-
dc.title.alternativePrevalence and associated factors of sick building syndrome’s symptoms among workers in a selected airport-
dc.typeThesis-
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต-
dc.degree.levelปริญญาโท-
dc.degree.disciplineการวิจัยและการจัดการด้านสุขภาพ-
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.identifier.DOI10.58837/CHULA.THE.2022.515-
Appears in Collections:Med - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
6470070330.pdf3.02 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.