Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/83577
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorจิตสุภา สง่าแสง-
dc.contributor.authorนิพัชชา โรจน์รัตนวาณิชย์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์-
dc.date.accessioned2023-09-25T01:57:32Z-
dc.date.available2023-09-25T01:57:32Z-
dc.date.issued2565-08-
dc.identifier.citationJournal of Modern Learning Development 7,7 (ส.ค. 2565) หน้า 403-416en_US
dc.identifier.issn2697-455X-
dc.identifier.urihttps://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/83577-
dc.description.abstractบทความวิชาการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษากรอบแนวคิด 2 กรอบแนวคิด ได้แก่ 1) การบริหารงานวิชาการกลุ่มโรงเรียน และ 2) ทักษะข้ามวัฒนธรรม ซึ่งศึกษาจากเอกสารที่เกี่ยวข้องกับการบริหารงานวิชาการกลุ่มโรงเรียน และเอกสารที่เกี่ยวข้องกับทักษะข้ามวัฒนธรรมรวมจำนวน 11 ฉบับ ด้วยการวิเคราะห์เนื้อหา และการวิเคราะห์โดยจัดกลุ่มเนื้อหา ผลจากการศึกษาค้นคว้าแบ่งออกเป็น 2 ส่วนคือ กรอบแนวคิดการบริหารงานวิชาการกลุ่มโรงเรียน และกรอบแนวคิดทักษะข้ามวัฒนธรรม โดยส่วนที่ 1 พบว่ากรอบแนวคิดการบริหารงานวิชาการกลุ่มโรงเรียนประกอบด้วย 4 ขอบข่ายงาน ได้แก่ 1.1) การพัฒนาหลักสูตร 1.2) การจัดการเรียนการสอน 1.3) สื่อการสอนและแหล่งเรียนรู้ และ 1.4) การวัดและประเมินผล และส่วนที่ 2 พบว่ากรอบแนวคิดทักษะข้ามวัฒนธรรมประกอบด้วย 4 องค์ประกอบ ได้แก่ 2.1) การเคารพความแตกต่างทางวัฒนธรรม 2.2) การสื่อสารข้ามวัฒนธรรม 2.3) การทำงานในทีมที่มีความหลากหลาย และ 2.4) การจัดการกับความคลุมเครือและการเปลี่ยนแปลงen_US
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this article were to study the conceptual framework of 1) the academic management of schools consortium and 2) cross cultural skills. Data were documentation from eleven studies related to the academic management of schools consortium and cross cultural skills which used content analysis and grouping analysis. The findings are as follows: 1) the conceptual framework of the academic management of schools consortium consists of: 1.1) curriculum development, 1.2) learning process development, 1.3) teaching materials and learning resources and 1.4) assessment and evaluation; 2) the conceptual framework of cross cultural skills consists of: 2.1) respecting cultural differences, 2.2) cross cultural communication, 2.3) diversity working group, and 2.4) dealing with ambiguity and changing.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherศูนย์พัฒนาการเรียนรู้สมัยใหม่en_US
dc.relation.urihttps://so06.tci-thaijo.org/index.php/jomld/article/view/256183-
dc.rightsศูนย์พัฒนาการเรียนรู้สมัยใหม่en_US
dc.titleการศึกษากรอบแนวคิดการบริหารงานวิชาการกลุ่มโรงเรียน ตามแนวคิดทักษะข้ามวัฒนธรรมen_US
dc.title.alternativeA Study of Academic Management of Schools Consortium Based on the Concept of Cross Cultural Skills Frameworksen_US
dc.typeArticleen_US
Appears in Collections:Thai Journal Article

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
html_submission_85247.htmlบทความวารสารฉบับเต็ม (Fulltext)2.68 kBHTMLView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.