Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/8368
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสมชาย จิตะพันธ์กุล-
dc.contributor.advisorสุพัฒนา เอื้อทวีเกียรติ-
dc.contributor.authorศราวุธ แต้โอสถ-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์-
dc.date.accessioned2008-10-21T08:55:35Z-
dc.date.available2008-10-21T08:55:35Z-
dc.date.issued2549-
dc.identifier.isbn9741433964-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/8368-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2549en
dc.description.abstractเสนอวิธีการแบ่งส่วนภาพบนพื้นฐานของวิธีเลเวลเซต และความรู้เชิงรูปร่างก่อน วิธีที่นำเสนอให้ผลการแบ่งส่วนภาพที่ดีกว่าการแบ่งส่วนภาพด้วยวิธีเลเวลเซตอื่น ทั้งที่ไม่ใช่ความรู้เชิงรูปร่างก่อนและใช้ความรู้เชิงรูปร่างก่อน วิธีการเลเวลเซตแสดงเส้นโค้งแบ่งส่วนภาพด้ายระดับศูนย์ของฟังก์ชันเลเวลเซต และเส้นโค้งจะเคลื่อนที่ด้วยสมการเลเวลเซล ส่วนความรู้เชิงรูปร่างก่อนในวิทยานิพนธ์นี้แสดงด้วยฐานหลักของ PCA ที่หาจากกลุ่มภาพตัวอย่าง วิธีที่นำเสนอในวิทยานิพนธ์นี้มีทั้งหมด 3 วิธีคือ 1) การเคลื่อนที่เส้นโค้งแบ่งส่วนโดยละเอียดภายในพื้นที่จำกัด หลังการประมาณเชิงรูปร่างซึ่งใช้ในการแบ่งส่วนภาพที่วัตถุมีความเป็นเนื้อเดียวกัน 2) การแบ่งส่วนภาพโดยปรับความเข้มหลังการประมาณเชิงรูปร่าง และ 3) การแบ่งส่วนภาพโดยปรับความเข้มร่วมกับการประมาณเชิงรูปร่าง ซึ่งสองวิธีหลังใช้ในการแบ่งส่วนภาพที่ไม่มีความเป็นเนื้อเดียวกัน โดยการปรับความเข้มของวัตถุให้มีความเป็นเนื้อเดียวกันก่อน จากผลการทดลองจะพบว่า ในกรณีที่วัตถุเป็นเนื้อเดียวกันกับวิธีการเคลื่อนที่เส้นโค้งแบ่งส่วนโดยละเอียดภายในพื้นที่จำกัด หลังการประมาณเชิงรูปร่างให้ผลการแบ่งส่วนภาพที่ดีกว่า การแบ่งส่วนภาพโดยการปรับฐานหลักของ PCA เพียงอย่างเดียว ส่วนในกรณีที่วัตถุไม่มีความเป็นเนื้อเดียวกัน การแบ่งสวนภาพโดยปรับความเข้มหลังการประมาณเชิงรูปร่าง ให้ผลการแบ่งส่วนภาพโดยปรับความเข้มร่วมกับการประมาณเชิงรูปร่าง ให้ผลการแบ่งส่วนภาพที่มีความถูกต้องสูง โดยวิธีการหลังให้ผลการแบ่งส่วนที่ดีกว่าการแบ่งส่วนภาพ โดยปรับความเข้มหลังการประมาณเชิงรูปร่าง กับภาพวัตถุที่ไม่มีความเป็นเนื้อเดียวกันในเกือบทุกกรณีen
dc.description.abstractalternativeThis thesis proposes three image segmentation methods based on the level set method and prior shape knowledge. The proposed methods segment better than conventional segmentation methods using the level set method with and without prior shape knowledge. In the level set method, a segmentation curve is represented by the zero level of the level set function and moved by the level set equation. The PCA basis calculated for the training shape is used as the prior shape knowledge in this thesis. Three segmentation methods in this thesis are 1) fine tuning segmentation curve after shape estimation, 2) segmentation with intensity adjustment after shape estimation and 3) segmentation by adjusting intensity during estimating the shape of an object. The first method is used for segmenting heterogeneous objects. The two latter methods are used for segmenting heterogeneous objects. The intensity of the heterogeneous object is adjusted so that it becomes homogeneous. In the experiment on segmenting homogeneous objects, the first method gave a better performance than the segmentation by adjusting only the coefficient of PCA basis. In the case of segmenting heterogeneous objects, the second and the third methods yielded highly accurate segmentation. The third method segmented better than the second method in most cases.en
dc.format.extent3320715 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2006.1309-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectวิธีเลเวลเซตen
dc.subjectการประมวลผลภาพen
dc.titleการแบ่งส่วนภาพโดยวิธีเลเวลเซตร่วมกับความรู้เชิงรูปร่างen
dc.title.alternativeImage segmentation using level set method and shape knowledgeen
dc.typeThesises
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineวิศวกรรมไฟฟ้าes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorSomchai.J@chula.ac.th-
dc.email.advisorไม่มีข้อมูล-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2006.1309-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Sarawut.pdf3.24 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.