Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/8480
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorสมนึก ปฏิปทานนท์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์-
dc.date.accessioned2008-11-28T02:28:29Z-
dc.date.available2008-11-28T02:28:29Z-
dc.date.issued2549-
dc.identifier.isbn9749993012-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/8480-
dc.description.abstractรายงานการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาสังคมศึกษาของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ที่ใช้วิธีสอนแบบสตอรี่ไลน์ วิธีการสอนแบบการใช้การวิจัยเป็นฐาน และวิธีการสอนแบบปกติ(2) เปรียบเทียบบุคลิกภาพประชาธิปไตยของนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ที่ใช้วิธีการสอนแบบสตอรี่ไลน์ วิธีการสอนแบบการใช้การวิจัยเป็นฐาน และวิธีการสอนแบบปกติ (3) เปรียบเทียบทักษะกระบวนการกลุ่มของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ที่ใช้วิธีการสอบแบบสตอรี่ไลน์ วิธีการสอนแบบการใช้การวิจัยเป็นฐาน และวิธีการสอนแบบปกติ ตัวอย่างประชากรเป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ของโรงเรียนสาธิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ฝ่ายมัธยม จำนวน 115 คน โดยใช้แผนการสอน 3 แบบ คือ แผนการสอนการเรียนแบบสตอรี่ไลน์ จำนวน 9 แผน แผนการสอนการเรียนแบบการใช้การวิจัยเป็นฐาน จำนวน 10 แผน และแผนการสอนการเรียนแบบปกติจำนวน 12 แผน ใช้เวลาในการทดลอง 6 สัปดาห์ สัปดาห์ละ 3 คาบ คาบละ 50 นาที เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาสังคมศึกษา ซึ่งมีค่าความเที่ยงเท่ากับ 0.81 แบบทดสอบวัดบุคลิกภาพประชาธิปไตย ซึ่งมีค่าความเที่ยงเท่ากับ 0.77 แบบทดสอบวัดทักษะกระบวนการกลุ่ม ซึ่งมีค่าความเที่ยงเท่ากับ 0.78 แบบประเมินพฤติกรรมการทำงานกลุ่ม ซึ่งมีค่าความเที่ยงเท่ากับ 0.40 และแบบประเมินการปฏิบัติงานในวิชาสังคมศึกษา ซึ่งมีค่าความเที่ยงเท่ากับ 0.58 นำผลมาวิเคราะห์ข้อมูลด้วยค่ามัชฌิมเลขคณิต ( x ) ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (SD) การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว ( one way ANOVA) การวิเคราะห์ความแปรปรวนตัวแปรพหุนาม (MANOVA) และการวิเคราะห์ความแปรปรวนร่วมตัวแปรพหุนาม ( MANCOVA) ผลการวิจัยพบว่า 1. นักเรียนที่เรียนวิชาสังคมศึกษาด้วยวิธีสตอรี่ไลน์ มีคะแนนเฉลี่ยผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนที่ปรับแก้ด้วยตัวแปรร่วมไม่แตกต่างจากนักเรียนกลุ่มที่เรียนแบบปกติ อย่างมีนัยสำคัญ ทางสถิติที่ระดับ .05 2. นักเรียนที่เรียนวิชาสังคมศึกษาด้วยวิธีการใช้การวิจัยเป็นฐาน มีคะแนนเฉลี่ย ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนที่ปรับแก้ด้วยตัวแปรร่วมไม่แตกต่างจากนักเรียนกลุม่ ที่เรียนแบบปกติ อย่างมี นัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 3. นักเรียนที่เรียนวิชาสังคมศึกษาด้วยวิธีสตอรี่ไลน์ มีคะแนนเฉลี่ยบุคลิกภาพ ประชาธิปไตยที่ปรับแก้ด้วยตัวแปรร่วมสูงกว่านักเรียนกลุ่มที่เรียนแบบปกติ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ที่ระดับ .05 4. นักเรียนที่เรียนวิชาสังคมศึกษาด้วยวิธีการใช้การวิจัยเป็นฐาน มีคะแนนเฉลี่ย บุคลิกภาพประชาธิปไตยที่ปรับแก้ด้วยตัวแปรร่วมสูงกว่านักเรียนกลุ่มที่เรียนแบบปกติ อย่างมี นัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 5. นักเรียนที่เรียนวิชาสังคมศึกษาด้วยวิธีสตอรี่ไลน์ มีคะแนนเฉลี่ยทักษะ กระบวนการกลุ่มที่ปรับแก้ด้วยตัวแปรร่วมไม่แตกต่างจากนักเรียนกลุ่มที่เรียนแบบปกติ อย่างมี นัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 6. นักเรียนที่เรียนวิชาสังคมศึกษาด้วยวิธีการใช้วิจัยเป็นฐาน มีคะแนนเฉลี่ยทักษะ กระบวนการกลุ่มที่ปรับแก้ด้วยตัวแปรร่วมไม่แตกต่างจากนักเรียนกลุ่มที่เรียนแบบปกติ อย่างมี นัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05en
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were (1) to compare social studies achievement of mathayom suksa one students between the group using Storyline Instruction, the group using Research – Based Instruction and the group using Conventional Instruction. (2) to compare democratic personality of mathayom suksa one students between the group using Storyline Instruction, the group using Research – Based Instruction and the group using Conventional Instruction. (3) to compare group process skills of mathayom suksa one students between the group using Storyline Instruction, the group using Research – Based Instruction and the group using Conventional Instruction. The samples were 115 of mathayom suksa one students from Chulalongkorn University Demonstration School. There were 3 sets of lesson plans : 9 daily lesson plans for Storyline Instruction , 10 daily lesson plans for Research – Based Instruction and 12 daily lesson plans for Conventional Instruction. Duration of Experiment were 6 weeks, consisted of 3 periods per week and 50 minutes per period. There were 5 sets of research instruments : Social Studies Achievement test which had reliabilities of 0.81 , Democratic Personality test which had reliabilities of 0.77 Group Process Skills test which had reliabilities of 0.78 Group Process Assessment form which had reliabilities of 0.40 and Social Studies Performance Assessment form which had reliablities of 0.58 Then, The data were analyzed by Means of Arithmetic Mean , Standard Diviation , one way ANOVA ,Multivariate Analysis of Variance : MANOVA and Multivariate Analysis of Covariance : MANCOVA The results of this research were as follows : 1. There were no statistically differences in the mean of achievement scores adjusted by covariate at .05 level of significance between the groups of students who learned social studies by Storyline Instruction and those who learned social studies by Conventional Instruction. 2. There were no statistically differences in the mean of achievement scores adjusted by covariate at .05 level of significance between the groups of students who learned social studies by Research – Based Instruction and those who learned social studies by Conventional Instruction. 3. The mean of democratic personality scores adjusted by covariate of the groups of students who learned social studies by Storyline Instruction were significantly higher than those of the groups of students who learned social studies by Conventional Instruction at the .05 level. 4. The mean of democratic personality scores adjusted by covariate of the groups of students who learned social studies by Research –Based Instruction were significantly higher than those of the groups of students who learned social studies by Conventional Instruction at the .05 level. 5. There were no statistically differences in the mean of group process skills scores adjusted by covariate at .05 level of significance between the groups of students who learned social studies by Storyline Instruction and those who learned social studies by Conventional Instruction. 6. There were no statistically differences in the mean of group process skills scores adjusted by covariate at .05 level of significance between the groups of students who learned social studies by Research – Based Instruction and those who learned social studies by Conventional Instruction.en
dc.description.sponsorshipเงินสนับสนุนการวิจัยกองทุนเพื่อการวิจัย คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปี 2548en
dc.format.extent1081423 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectสังคมศึกษา -- การศึกษาและการสอน (มัธยมศึกษา)-
dc.subjectผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน-
dc.subjectการทำงานกลุ่มในการศึกษา-
dc.titleการศึกษาเปรียบเทียบผลสัมฤทธิทางการเรียนวิชาสังคมศึกษา บุคลิกภาพประชาธิปไตย และทักษะกระบวนการกลุ่มของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1ระหว่างกลุ่มที่ใช้วิธีการสอนแบบสตอรี่ไลน์ แบบการใช้การวิจัยเป็นฐานและแบบปกติ : รายงานการวิจัยen
dc.title.alternativeA comparative study of social studies achievement , democratic personality and group process skills of mathayom suksa one students among groups using storyline, research-based, and conventional instructionen
dc.typeTechnical Reportes
dc.email.authorไม่มีข้อมูล-
dc.subject.keywordการสอนสังคมศึกษาen
dc.subject.keywordวิธีการสอนแบบสตอรี่ไลน์en
dc.subject.keywordการสอนแบบใช้การวิจัยเป็นฐานen
Appears in Collections:Edu - Research Reports

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Somnuk_com.pdf3.85 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.