Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/9248
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorธนวดี บุญลือ-
dc.contributor.authorสิริพรรณ วิบูลย์จันทร์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะนิเทศศาสตร์-
dc.date.accessioned2009-07-17T02:31:35Z-
dc.date.available2009-07-17T02:31:35Z-
dc.date.issued2542-
dc.identifier.isbn9743337784-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/9248-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (นศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2542en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่าง อาชีพ ระดับการศึกษา รายได้ และสถานภาพสมรสกับพฤติกรรมการเปิดรับข่าวสารเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพตนเองของสตรีวัยทองในเขตกรุงเทพมหานคร ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่าง พฤติกรรมการเปิดรับข่าวสารเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพตนเอง ความรู้ ทัศนคติเกี่ยวกับภาวะวัยทอง และพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองของสตรีวัยทอง นอกจากนี้ยังศึกษาเปรียบเทียบความน่าเชื่อถือของสื่อมวลชน และสื่อบุคคลที่มีต่อการยอมรับพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองของสตรีวัยทอง กลุ่มตัวยอย่างที่ศึกษาจำนวน 408 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลคือ แบบสอบถาม การวิเคราะห์ข้อมูลใช้การแจกแจงความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย t-test One-way ANOVA และค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน ประมวลผลโดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูป SPSS/PV ผลการวิจัยพบว่า 1. พฤติกรรมการเปิดรับข่าวสารเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพตนเอง พบว่า โทรทัศน์เป็นสื่อที่สตรีวัยทองเปิดรับมากที่สุด รองลงมาคือ หนังสือพิมพ์ สำหนับสื่อบุคคลพบว่าสตรีวัยทองรับข่าวสารจากเพื่อนมากที่สุด รองลงมาคือ ญาติพี่น้อง และแพทย์หรือผู้เชี่ยวชาญด้านสุขภาพ 2. สตรีวัยทองที่มีอาชีพ ระดับการศึกษา รายได้ และสถานภาพสมรสที่แตกต่างกัน มีการเปิดรับข่าวสารเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพตนเองแตกต่างกัน 3. พฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเอง มีความสัมพันธ์กับ พฤติกรรมการเปิดรับข่าวสารเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพตนเองทาง โทรทัศน์ วิทยุ หน้งสือพิมพ์ นิตยสาร และจากคู่สมรส ญาติพี่น้อง เพื่อนแพทย์หรือผู้เชี่ยวชาญด้านสุขภาพ ความรู้ และทัศนคติเกี่ยวกับภาวะวัยทอง แต่ไม่มีความสัมพันธ์กับการเปิดรับข่าวสารเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพตนเองจากบุตร 4. สื่อมวลชน และสื่อบุคคลมีความน่าเชื่อถือในการให้ความรู้ และการยอมรับพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองต่างกัน โดยสื่อมวลชนมีความน่าเชื่อถือมากกว่าสื่อบุคคลen
dc.description.abstractalternativeThe objective of this research is to investigate the relationships among job positions, educational levels, income, marital status and media exposure on self health care of menopausal-aged women in Bangkok. The research also to examine the correlation between media exposure, knowledge on self health care, attitude towards menopausal status and self health care behavior of menopausal-aged women. The research also compared the media credibility. Self-administered questionnaires were used to collect data from 408 menopausal-aged women in Bangkok. T-test, One-way ANOVA, and Pearson Product Moment Correlation Coefficient were used to test the differences and correlations among key variables under studied. The research findings are as follows: 1. Menopausal-aged women are exposed to television the most, newspaper the second most. In terms of interpersonal contact, the women receive information the most from their friends, followed by relatives and medical experts. 2. Menopausal-aged women with different job positions, educational levels, income and marital status are different in media exposure. 3. Media exposure, knowledge, and attitude towards menopausal status are positively correlated with self health care behavior. 4. Mass media are accepted as more creditable compared to interpersonal contact.en
dc.format.extent967254 bytes-
dc.format.extent1024239 bytes-
dc.format.extent1667199 bytes-
dc.format.extent874869 bytes-
dc.format.extent1746282 bytes-
dc.format.extent1256829 bytes-
dc.format.extent1004663 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.1999.333-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectการดูแลสุขภาพด้วยตนเองen
dc.subjectการเปิดรับข่าวสารen
dc.subjectสตรีสูงอายุen
dc.subjectวัยหมดระดูen
dc.titleความสัมพันธ์ระหว่างการเปิดรับข่าวสารกับการดูแลสุขภาพตนเอง ของสตรีวัยทองen
dc.title.alternativeThe relationships between media exposure and self health care of menopause-aged womenen
dc.typeThesises
dc.degree.nameนิเทศศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineนิเทศศาสตรพัฒนาการes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorTanawadee.b@chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.1999.333-
Appears in Collections:Comm - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Siriphan_Vi_front.pdf944.58 kBAdobe PDFView/Open
Siriphan_Vi_ch1.pdf1 MBAdobe PDFView/Open
Siriphan_Vi_ch2.pdf1.63 MBAdobe PDFView/Open
Siriphan_Vi_ch3.pdf854.36 kBAdobe PDFView/Open
Siriphan_Vi_ch4.pdf1.71 MBAdobe PDFView/Open
Siriphan_Vi_ch5.pdf1.23 MBAdobe PDFView/Open
Siriphan_Vi_back.pdf981.12 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.