Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/9438
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorประกอบ คุปรัตน์-
dc.contributor.advisorสุภางค์ จันทวานิช-
dc.contributor.authorเสน่ห์ จุ้ยโต-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2009-07-30T10:53:30Z-
dc.date.available2009-07-30T10:53:30Z-
dc.date.issued2541-
dc.identifier.isbn9746398806-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/9438-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ด.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2541en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาที่มาของวิสัยทัศน์และกลยุทธ์ในการบริหารอุดมศึกษาของผู้บริหารระดับสูง และการใช้วิสัยทัศน์และกลยุทธ์ในการบริหารอุดมศึกษาของผู้บริหารระดับสูง การวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพซึ่งใช้วิธีกรณีศึกษา โดยเลือกกรณีศึกษาด้วยวิธีเจาะจง การเก็บรวบรวมข้อมูลใช้ 3 วิธีการ คือ การศึกษาประวัติชีวิต การวิเคราะห์เอกสาร และการสัมภาษณ์ ผลการวิจัยพบว่า ที่มาของวิสัยทัศน์และกลยุทธ์ในการบริหารอุดมศึกษาของผู้บริหารระดับสูงมี 4 ประการคือ การขัดเกลาทางสังคม การศึกษาในระบบ ประสบการณ์ในอาชีพ และวัฒนธรรมขององค์การ การขัดเกลาทางสังคมประกอบไปด้วยการอบรมเลี้ยงดูของบิดามารดา การเป็นแบบอย่างที่ดีของบิดามารดา ความยากลำบากในวัยเด็กที่ทำให้มีความอดทนพากเพียร การเป็นน้องที่มีพี่ๆ ให้การสนับสนุน และการฝึกฝนของบิดามารดาที่ทำให้เกิดความเฉลียวฉลาดในวัยเด็ก การศึกษาในระบบประกอบไปด้วยการมีครูดี การได้เรียนในวิชาที่เป็นประโยชน์โดยตรง และการได้ทำกิจกรรมเสริมหลักสูตร ประสบการณ์ในอาชีพประกอบด้วยประสบการณ์ในการเรียนระดับประถมศึกษาและมัธยมศึกษา ประสบการณ์ในการเรียนระดับปริญญาตรี โทและเอก และประสบการณ์ในการทำงาน วัฒนธรรมขององค์การประกอบไปด้วยความเชื่อและค่านิยมของผู้นำเกี่ยวกับการบริหารองค์การ วิสัยทัศน์ในการบริหารอุดมศึกษาของผู้บริหารระดับสูงมี 5 ประการ คือ มหาวิทยาลัยทางไกลและมหาวิทยาลัยในกำกับรัฐบาล การบริหารความขัดแย้ง ความเป็นสากลของอุดมศึกษา การกระจายอำนาจและการบริหารองค์การเชิงธุรกิจ การใช้วิสัยทัศน์และกลยุทธ์ในการบริหารอุดมศึกษาของผู้บริหารระดับสูงมี 4 ขั้นตอนคือ ขั้นจุดประกาย ขั้นขายความคิด ขั้นพิชิตการเปลี่ยนแปลง และขั้นสร้างความต่อเนื่องen
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research are to study the origin of vision and strategies in higher education administration, the use of vision and strategies of the top level administrator in higher education administration. This research is qualitative research which uses case study. The case is purposively selected. The data were collected in three ways, namely: through life history, documentary analysis, and interview. The results of this were that the origin of vision and strategies of the top level administrator in higher education administration have four categories: socialization, formal education, career experience and corporate culture. Socialization comprises of parental up-bringing, good role models on the part of parents, going through childhood hardship, being the younger and supported by the elder siblings in the family, and training of the parents to have childhood intelligent. Formal education comprises of good teachers, opportunities to learn useful subjects, and participation in extra-curriculum activities. Career experience comprises of good teachers, opportunities to learn useful subjects, and participation in extra-curiculum activities. Career experience comprises of learning experiences at the primary, secondary, undergraduate, an dgraduate levels, as well as work experiences. Corporate culture comprises of beliefs and values of leader concerning organization administration. Vision of the top level administrator in higher education administration comprise of 5 categories: distance university and university under the supervision of the Royal Thai Government, conflict management, internationalization, decentralization, and business strategic management. The use of vision and strategies of the top level administrator in higher education administration comprise of 4 stages: idea sparking, idea selling, change overcoming, and continuation-formingen
dc.format.extent1177813 bytes-
dc.format.extent881439 bytes-
dc.format.extent1260849 bytes-
dc.format.extent812898 bytes-
dc.format.extent2749054 bytes-
dc.format.extent839935 bytes-
dc.format.extent864114 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectการศึกษาขั้นอุดมศึกษา -- การบริหารen
dc.subjectผู้นำen
dc.subjectภาวะผู้นำen
dc.subjectผู้บริหารสถาบันอุดมศึกษาen
dc.titleวิสัยทัศน์และกลยุทธ์ในการบริหารอุดมศึกษา : กรณีศึกษาของผู้บริหารระดับสูงen
dc.title.alternativeVision and strategies in higher education administration : a case study of the top level administratoren
dc.typeThesises
dc.degree.nameครุศาสตรดุษฎีบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาเอกes
dc.degree.disciplineอุดมศึกษาes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorไม่มีข้อมูล-
dc.email.advisorSupang.C@Chula.ac.th, DirIAS@Chula.ac.th-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Saneh_Ju_front.pdf1.15 MBAdobe PDFView/Open
Saneh_Ju_ch1.pdf860.78 kBAdobe PDFView/Open
Saneh_Ju_ch2.pdf1.23 MBAdobe PDFView/Open
Saneh_Ju_ch3.pdf793.85 kBAdobe PDFView/Open
Saneh_Ju_ch4.pdf2.68 MBAdobe PDFView/Open
Saneh_Ju_ch5.pdf820.25 kBAdobe PDFView/Open
Saneh_Ju_back.pdf843.86 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.