Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/9527
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวิทย์ สุนทรนันท์-
dc.contributor.authorนฤมล เจริญตรา-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์-
dc.date.accessioned2009-08-03T09:43:11Z-
dc.date.available2009-08-03T09:43:11Z-
dc.date.issued2544-
dc.identifier.isbn9740304117-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/9527-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2544en
dc.description.abstractในการแยกสารประกอบอะลูมิเนียมอัลคีลออกจากไวท์มิเนอรัลออยล์โดยทำการออกซิเดชันสารประกอบอะลูมิเนียมอัลคีลด้วยอากาศเพื่อเปลี่ยนรูปของสารประกอบอะลูมิเนียมอัลคีลให้เป็นสารประกอบอะลูมิเนียมอัลคอกไซด์ แล้วจึงทำการไฮโดรไลซิสด้วยกรดซัลฟุริก เพื่อเปลี่ยนสารประกอบอะลูมิเนียมอัลคอกไซด์เป็นสารประกอบอะลูมิเนียมซัลเฟตเพื่อจะได้สามารถแยกตัวออกจากน้ำมันได้โดยง่ายนั้น การควบคุมสภาวะการเกิดปฏิกิริยาออกซิเดชันเป็นสิ่งที่สำคัญมากที่สุด การศึกษานี้พบว่าเพื่อให้ได้สารประกอบอะลูมิเนียมอัลคอกไซด์มากที่สุด การออกซิเดชันควรดำเนินการในช่วงเวลาที่สั้นและความเร็วรอบในการปั่นกวนต่ำ รวมถึงปราศจากการกระตุ้นจากการให้ความร้อน ในกรณีที่ปฏิกิริยาออกซิเดชันเกิดขึ้นอย่างรุนแรงจะเกิด ผลิตภัณฑ์ร่วมในรูปสารประกอบอะลูมิเนียมไฮเดรต ซึ่งนอกจากสารประกอบอะลูมิเนียม ไฮเดรตจะไม่ทำปฏิกิริยากับกรดซัลฟุริก (ในสภาวะอุณหภูมิปกติ) ทำให้ไม่เกิดเป็นสารประกอบอะลูมิเนียมซัลเฟตตามที่ต้องการแล้ว ยังสามารถรวมตัวกันเกิดเป็นสารประกอบพอลิไฮเดรตที่มีโครงสร้างขนาดใหญ่ (ในสภาวะที่อุณหภูมิสูงหรือเมื่อปล่อยทิ้งไว้เป็นระยะเวลานาน) เป็นผลให้ประสิทธิภาพของการกำจัดสารประกอบอะลูมิเนียมโดยการไฮโดรไลซิสต่ำลง นอกจากนี้การเติมไอโซโพรพานอลเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการออกซิเดชันกลับส่งผลทางลบต่อการไฮโดรไลซิส ทำให้ประสิทธิภาพการแยกโดยรวมต่ำลงเช่นกันen
dc.description.abstractalternativeIn the separation of aluminium alkyl compound from white mineral oil by oxidizing the aluminium alkyl compound with air to transform aluminium alkyl compound into aluminium alkoxide, and then hydrolyzing with sulfuric acid to change aluminium alkoxide into aluminium sulfate which can readily be separated from white mineral oil, the control over the oxidizing condition is critical in obtaining highest yield of aluminium alkoxide. The oxidation stage should be performed for short period of time and at low speed of agitation and also without activation from heat. In the case of intense oxidation, the by-product in the form of aluminium hydrate results. The aluminium hydrate does not react with sulfuric acid (at normal temperature) to produce the desired product, but conversely it can form a polyhydrate compound (at high temperature or at prolonged time), resulting in the decline of separation efficiency. Moreover, the addition of isopropanol to enhance the efficiency of oxidation stage has adversely affected the hydrolysis resulting in a lower overall effectiveness of separation.en
dc.format.extent2053547 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectอะลูมิเนียมอัลคีลen
dc.subjectน้ำมันแร่ขาวen
dc.subjectออกซิเดชันen
dc.subjectการแยกสลายด้วยน้ำen
dc.titleการแยกสารประกอบอะลูมิเนียมอัลคีลออกจากไวท์มิเนอรัลออยล์ด้วยการออกซิเดชันและไฮโดรไลซิสen
dc.title.alternativeSeparation of the aluminium alkyl compound from white mineral oil via oxidation and hydrolysisen
dc.typeThesises
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineวิศวกรรมเคมีes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorwit.s@chula.ac.th-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Narumon.pdf2.01 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.